กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7890
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.advisorอุดม รัตนอัมพรโสภณ
dc.contributor.authorกิติยา บุญแซม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T06:13:03Z
dc.date.available2023-05-12T06:13:03Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7890
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 2) ระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนและการบริหาร งานวิชาการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน และปัจจัยการบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผลของโรงเรียน 4) ปัจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน และปัจจัยการบริหารงานวิชาการที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน 5) เพื่อสร้างสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติการสอนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 จำนวน 291 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วน 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation) การวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ (Multiple regression analysis) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ผลการศึกษา พบว่า 1. ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน และการบริหารงานวิชาการ สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 3. ปัจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน และปัจจัยการบริหารงานวิชาการมีความสัมพันธ์กันในทางบวกกับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ปัจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน และปัจจัยการบริหารงานวิชาการส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 5. ตัวแปรพยากรณ์ในภาพรวมสามารถพยากรณ์ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 โดยเรียงลำดับ ดังนี้ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (X21) ด้านมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ (X11) ด้านพัฒนากระบวนการเรียนรู้ (X22) และด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา (X25) สามารถพยากรณ์ร่วมกันได้ร้อยละ 53.70 ได้สมการพยากรณ์ประสิทธิผลของโรงเรียน ในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ Y' = 1.427 + 0.179 (X22) + 0.174 (X21) + 0.169 (X11) + 0.132 (X25) Z' = 0.219 (Z22) + 0.215 (Z21) + 0.229 (Z11) + 0.173 (Z25)
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectโรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร (เขตการศึกษา 2)
dc.subjectประสิทธิผลขององค์การ
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2
dc.title.alternativeFctors ffecting schools effectiveness under the chonburi primry eductionl service re office 2
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were of study; 1) level of the schools effectiveness, 2) level of transformational leadership and academic administration. 3) relationship between transformational leadership and academic administration factors with the schools effectiveness. 4) transformational leadership and academic administration factors effecting the schools effectiveness. 5) construct predictive equations of schools effectiveness. The sample consisted of 291 teachers under Chonburi Primary Educational Service Office 2. The instruments was 5 rating - scale questionnaires. The statistics used for the data analysis were Mean ( ), standard deviation (SD), Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient, multiple regression analysis and Stepwise Multiple regression analysis. The results were as follows: 1. The schools effectiveness under Chonburi Primary Educational Service Office 2 in overall and each aspect were at a high level. 2. The transformational leadership and academic administration of the school administrators under Chonburi Primary Educational Service Office 2 in overall and each aspect were at a high level. 3. The transformational leadership and academic administration factors correlated positively with the schools effectiveness with statistical significant at .01 level. 4. The transformational leadership and academic administrations factors affected schools effectiveness statistical significant at .01 level. 5. School curriculum development (X21), idealized Influence (X11), learning process development (X22) and the development of innovation media and education technology (X25). The factors explained the school effectiveness up to 53.70 percent. The predictive equation of school effectiveness in term of raw scores and standardized scores were as follows. Y' = 1.427 + 0.179 (X22) + 0.174 (X21) + 0.169 (X11) + 0.132 (X25) Z' = 0.219 (Z22) + 0.215 (Z21) + 0.229 (Z11) + 0.173 (Z25)
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameกศ.ม.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.52 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น