กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7610
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorธรรมนันทิกา แจ้งสว่าง
dc.contributor.advisorเสกสรรค์ ทองคำบรรจง
dc.contributor.authorนภาพร หงษ์ทอง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:16:46Z
dc.date.available2023-05-12T04:16:46Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7610
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ตรวจสอบความเที่ยงตรงของโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในภาพรวมและจำแนกตามเพศ 2) วิเคราะห์อิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมของตัวแปรสาเหตุที่มีต่อพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟน และผลกระทบจากการใช้สมาร์ทโฟนในภาพรวมและจำแนกตามเพศและ 3) เปรียบเทียบพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟน และผลกระทบจากการใช้สมาร์ทโฟนเมื่อจำแนกตามเพศ และระดับชั้นกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 658 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบวัดความเหงาแบบวัดบุคลิกภาพแบบวัดการรับรู้การควบคุมการใช้สมาร์ทโฟนภายในครอบครัวแบบวัดการคล้อยตามกลุ่มเพื่อนแบบวัดการติดสมาร์ทโฟนแบบวัดผลกระทบจากการใช้สมาร์ทโฟนผู้วิจัยได้ทำการรวบรวมข้อมูลแล้วนำมาวิเคราะห์หาค่าสถิติพื้นฐานค่าสหสัมพันธ์และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างเชิงเส้นผลการวิจัยพบว่า 1.โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟนตามสมมติฐานมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (2 = 33.512,p = 0.055,2/df = 1.523, SRMR= 0.029,RMSEA = 0.028, CFI = 0.995, GFI = 0.990, AGFI = 0.975, CN = 782.913) 2.การคล้อยตามกลุ่มเพื่อน เป็นตัวแปรเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลทางตรงต่อการติด สมาร์ทโฟน และอิทธิพลทางอ้อมต่อผลกระทบจากการใช้สมาร์ทโฟนมากที่สุด ในภาพรวม และของนักเรียนชายและนักเรียนหญิง รองลงมาคือ การรับรู้การควบคุมการใช้สมาร์ทโฟนใน ครอบครัว ของนักเรียนชาย และตัวแปรบุคลิกภาพหวั่นไหวทางอารมณ์ ในภาพรวมและของนักเรียนหญิง 3.นักเรียนที่มีเพศต่างกันและระดับชั้นต่างกัน มีค่าเฉลี่ยของด้านพฤติกรรมติด สมาร์ทโฟนและผลกระทบจากการใช้สมาร์ทโฟน ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- พฤติกรรม
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.titleการวิเคราะห์โมเดลเชิงสาเหตุของพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟนและผลกระทบของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6
dc.title.alternativeAnnlysis of cusl model of the smrtphone ddicition nd impcts of hight school students in the secondry eduction sevice re office 6
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were; 1) to test the validation of the structural causal relationship of the smartphone addiction of high school students, 2) to analyze the direct effects, indirect effects and total effects of causal variable to the smartphone addiction and impacts on usage of smartphone in overall, and as classified by gender, 3) to compare the smartphone addiction and impacts on usage of smartphone that classified by gender and grade. The sample groups were grade 7 to grade 12 students. The total of 658 students were selected by multi-stage random sampling. The tool for data collection was a sets of 10 scale measurement (α = 0.699 to 0.892) The collected data were analyzed by correlation and Linear Structural Equation Modeling. The results were as follows; 1. The causal modeling of the smartphone addiction fitted with the empirical data (2 = 33.512, p = 0.055,2/df = 1.523, SRMR = 0.029, RMSEA = 0.028, CFI = 0.995, GFI = 0.990, AGFI = 0.975) 2. Peer conformity was most directly effects cause of the smartphone addiction and indirectly effects impacts on usage of smartphone both male and female students. The second was the awareness on controlling smartphone usage from the family of the male students. The third direct affect was from the emotional variation of female students. 3. Students in different gender and grade had the means of behavior of smartphone addiction andimpacts on usage of smartphone differently with statistical significant level of .05
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.64 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น