กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7398
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอาพันธ์ชนิต เจนจิต
dc.contributor.advisorคงรัฐ นวลแปง
dc.contributor.authorเยาว์ประภา สิงห์มหาไชย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:55:17Z
dc.date.available2023-05-12T03:55:17Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7398
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการให้เหตุผล ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ลำดับของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบอุปนัยและนิรนัยกับเกณฑ์ร้อยละ 70 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ลำดับของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัย กับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 25 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัย จำนวน 6 แผน 2) แบบทดสอบ วัดความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่มีค่าความเชื่อมั่น .90 3) แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ลำดับที่มีค่าความเชื่อมั่น .88 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที (t-test for one sample) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ลำดับของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบอุปนัยและนิรนัย สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ลำดับของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบอุปนัยและนิรนัย สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัยที่มีต่อความสามารถในการให้เหตุผลและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง ลำดับของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
dc.title.alternativeThe effects of inductive nd deductive lerning mngement on mthemticl resoning bility nd lerning chievement in sequences of mthyomsuks 5 students
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were; 1) to compare mathematical reasoning ability on “sequences” of mathayomsuksa 5 students after learning with inductive and deductive management activities with the criterion of 70 percent, and 2) to compare mathematics learning achievement on “sequences” of mathayomsuksa 5 students after learning with inductive and deductive learning management with the criterion of 70 percent. The sample were 25 Mathayomsuksa 5/1 students of the first semester in academic year B.E 2560. They were selected by cluster random sampling. The research instruments used in this research consisted of; 1) six inductive and deductive lesson plans; 2) mathematical reasoning abilities test, with the reliability of .90; and 3) mathematics learning achievement on “sequences” test, with the reliability of .88. The data were analyzed by mean, percentage, standard deviation and t-test for one sample. The results were as follows: 1. The mathematical reasoning ability on “sequences” of mathayomsuksa 5 students after learning with the inductive and deductive learning management was higher than the criterion of 70 percent at .05 level. 2. The mathematics learning achievement on “sequences” of mathayomsuksa 5 students after learning with inductive and deductive learning management was higher than the criterion of 70 percent at .05 level.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการสอนคณิตศาสตร์
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.56 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น