กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/703
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอภิวัฒน์ ห่อเพชร
dc.contributor.authorพรพรรณ วิศาวรรณ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:53:02Z
dc.date.available2019-03-25T08:53:02Z
dc.date.issued2552
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/703
dc.description.abstractจากการคัดเลือกเชื้อราที่มีความสามารถในการลดสีน้ำเสียจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบ จำนวน 10 สายพันธุ์ พบว่าเชื้อราทุกสายพันธุ์สามารถเจริญได้ดีที่สุดที่ระดับความเจือจาง 1:3 และสามารถผลิตเอนไซม์แลคเคสได้ในอาหารคัดเลือก โดยเชื้อราสายพันธุ์ SU-4 มีขนาดโคโลนีใหญ่ที่สุด เมื่อทดสอบที่สภาวะให้อากาศ พบว่า เชื้อราสายพันธุ์ SU-4 สามารถเจริญได้สูงสุด ผลิตเอนไซม์แลคเคสได้ 12.26 U/ml ลดปริมาณฟีนอลได้ 3.37 mg/l ลดค่าสีได้ 758.2 unit และลดค่าซีโอดีได้ 37.24% ในขณะที่สภาวะไห้อากาศ เชื้อราสายพันธุ์ SU-4 สามารถเจริญได้สูงสุดที่สุด ผลิตเอนไซม์แลคเคสได้ 11.96 U/ml ลดค่าสีได้ 911.02 unit และลดค่าซีโอดีได้ 40.39% แด่เชื้อราสายพันธุ์ SU-3 สามารถลดปริมาณฟีนอลได้สูงสุด (3.00 mg/l) โดยความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมเอนไซม์แลคเคสและความสามารถในการลดสีมีค่าเท่ากับ 0.78th_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectจุลินทรีย์ - - การใช้ประโยชน์th_TH
dc.subjectน้ำเสีย - - การบำบัด - - การกำจัดสีth_TH
dc.subjectน้ำเสีย - - การบำบัด - - วิธีทางชีวภาพth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มth_TH
dc.titleการศึกษาการลดสีน้ำเสียจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มด้วยวิธีทางชีวภาพth_TH
dc.title.alternativeStudy of biological decolorization of palm oil mill effluenten
dc.typeResearchth_TH
dc.year2552
dc.description.abstractalternativeDecolorization of palm oil mill effluent was studied to evaluate ten selective fungi from different areas in Nakorn Sri Thammarat, Suratthani and Chumporn, Thailand. All fungi were grown in selective media at a dilution rate of 1:1, 1:2 and 1:3. The biggest colonies was observed with fungi SU-4 at a dilution rate of 1:3. To optimize the decolorization activities, aerobic and anaerobic treatment were compared. The highest aerobic decolorization activities was found in SU-4 with laccase activity of 12.26 U/ml, phenol reduction of 3.37 mg/l, color removal of 758.2 unit and COD removal of 37.24%. Under anaerobic conditions, the highest laccase activity (11.96 U/ml), color removal (911.02 unit) and COD removal (40.39%) were found in SU-4, however,phenol reduction was the highest in SU-3 (3.00 mg/l). Furthermore, the correlation between laccase activities and decolorization were determined to be 0.78en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น