กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6597
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเชษฐ์ ศิริสวัสดิ์
dc.contributor.advisorชนวัฒน์ ตันติวรานุรักษ์
dc.contributor.authorกุลธิดา ขันสุข
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:08:59Z
dc.date.available2023-05-12T03:08:59Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6597
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยเชิงทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์และ กระบวนการกลุ่ม เรื่อง พันธุศาสตร์ ก่อนเรียนและหลังเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบห้องเรียนกลับด้านบนเว็บ และเปรียบเทียบการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการกลุ่ม เรื่องพันธุศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านบนเว็บกับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 จํานวน 2 ห้องเรียน 48 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านบนเว็บ แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ แบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ แบบประเมินวัดกระบวนการกลุ่มสถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1. การคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยจัดการเรียนรู้แบบ ห้องเรียนกลับด้านบนเว็บ หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 2. กระบวนการกลุ่มของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับ ด้านหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 3. การคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน โดยการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านมีค่าสูงกว่าการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ .05 4. กระบวนการกลุ่มของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน โดยการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านบนเว็บมีค่าสูงกว่าการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectห้องเรียน -- การจัดการ
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาชีววิทยาศึกษา
dc.subjectห้องเรียนกลับด้าน
dc.titleการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการกลุ่มโดยจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านบนเว็บ เรื่อง พันธุศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
dc.title.alternativeThe development of scientific nlyticl thinking nd group process by using flipped clssroom techniques on web site bout genetics of 10th grde students
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposesof this experimental research were to compare scientific analytical thinking and group process of the topic Genetics for 10th grade students of pretest and posttest using flipped classroom techniques on web site and compare scientific analytical thinking and group process of the topic Genetics for 10th grade students using flipped classroom techniques on web site with traditional instruction. The participants of this research consisted of two classroom from 10th grade students of Princess Chulabhorn Science High School Nakhon Si Thammarat in the second semester of academic year 2016, with were randomly selected by using cluster sampling. The research instruments were the flipped classroom techniques on web site lesson plans, the traditional approach lesson plans, scientific analytical thinking test on genetics and group process test. The data were statistically analyzed using means, standard deviation, dependent sample t-test and independent sample t-test. The findings of this research were as follows. 1. Scientific analytical thinking for the 10th grade studentsusing flipped classroom techniques on web site posttest learning was higher than pretest score learning significant at the .05 level. 2. Group process for the 10th grade students using flipped classroom techniques on web site posttest learning was higher than pretest score learning significant at the .05 level. 3. Scientific analytical thinking for the 10th grade studentsusing flipped classroom techniques on web site was higher than that using traditional instruction significant at the .05 level. 4. Group process for the 10th grade students using flipped classroom techniques on web site was higher than that using traditional instruction significant at the .05 level.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineชีววิทยาศึกษา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.32 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น