กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6324
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorรชฎ จันทร์น้อย
dc.contributor.authorอุทัยวรรณ เพ็งธรรม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-05-12T02:44:01Z
dc.date.available2023-05-12T02:44:01Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6324
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คุณภาพชีวิต และทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรในเขตอําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรีประชากร กลุ่มตัวอยางที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรในเขตอําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรีจํานวน 319 คน สุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified random sampling) จากนั้น การเลือกตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น โดยการเลือกแบบตามสะดวก (Convenience sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่มีความเชื่อมั่นเท่ากับ .915 สถิติที่ใช้คือค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า การปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรในเขตอําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี พบว่า โดยรวมปฏิบัติอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อันดับที่หนึ่งคือ ด้านการจัดการพื้นที่ในการทําการเกษตร รองลงมาคือ การจัดการด้านการเงิน และการพัฒนาตนเอง ตามลําดับ ด้านคุณภาพชีวิต พบว่า โดยรวมมีคุณภาพชีวิตที่ดี เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อันดับหนึ่งคือด้านจิตใจ รองลงมาคือ ด้านร่างกาย ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านความสัมพันธ์ทางสังคม ตามลําดับ ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรในเขตอําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรีพบว่า การปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกจพอเพียงมีความสัมพันธ์เชิงบวกคุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรในเขตอําเภอเมืองชลบุรีจังหวัดชลบุรี และมีความสัมพันธ์กัน ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
dc.subjectเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียง
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป
dc.subjectเกษตรกรรม -- แง่เศรษฐกิจ
dc.subjectเกษตรกร -- การดำเนินชีวิต
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรในเขตอำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeReltionship between prctices bsed on sufficiency economy philosophy nd qulity of life mong registered griculturlists in the re of mphoe mueng Chon Buri, Chon Buri province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to examine a level of practices based on Sufficiency Economy Philosophy and a level of quality of life among registered agriculturalists in the area of Amphoe Mueang Chon Buri, Chon Buri Province. Also, this study intended to determine the relationship between the practices based on Sufficiency Economy Philosophy and quality of life among these registered agriculturalists. The subjects participating in this study were 319 agriculturalists who were firstly recruited by a stratified sampling technique, and then by a nonprobability sampling method via a convenient sampling technique. The instrument used to collect the data was a questionnaire with a reliability level of .915. The statistical tests used to analyze the collected data included frequency, percentage, means, standard deviation, and the test of Pearson Product Moment Coefficient. The results of this study revealed that the level of practices based on Sufficiency Economy Philosophy was at a high level. When considering each aspect, the one in relation to management of agricultural area was rated the highest, followed by the aspect relating to financial management and self-development, respectively. Regarding the quality of life, the subjects reported a good level of quality of life in general. When considering each aspect of quality of life, the mental quality was rated the highest, followed by physical aspect, environment, and social integration, respectively. In addition, based on the results from the test of the relationship, it was shown that there was a positive, moderate relationship between the practices based on Sufficiency Economy Philosophy and quality of life among the registered agriculturalists in the area of Amphoe Mueang Chon Buri, Chon Buri Province at a significant level of .01.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารทั่วไป
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.73 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น