กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6310
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorรชฏ จันทร์น้อย
dc.contributor.authorปรภัค ทรัพย์ผุด
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-05-12T02:42:23Z
dc.date.available2023-05-12T02:42:23Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6310
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องแนวทางในการจัดการขยะชุมชนของเทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการจัดการขยะชุมชนของเทศบาลนครแหลมฉบัง และศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาที่พบว่า สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง โดยศึกษากลุ่มตัวอย่างจากประชาชนผู้อาศัยในเขตเทศบาลนครแหลมฉบัง ได้กำหนดกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้บริหารเทศบาลนครแหลมฉบัง กลุ่มผู้ปฏิบัติงานในการจัดการขยะกลุ่มผู้นำชุมชน และกลุ่มประชาชนในเขตเทศบาลนครแหลมฉบัง ทำการศึกษาโดยการสัมภาษณ์ผู้วิจัยได้นำข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติพรรณนา ในส่วนคำสัมภาษณ์และการสนทนา กลุ่มใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) สาเหตุของปัญหาในการจัดการขยะชุมชนของเทศบาลนครแหลมฉบัง คือ ประชากรมีจำนวนมากและมีความหลากหลาย ประชาชนขาดความรู้ ในการจัดการขยะการบังคับใช้กฎหมายไม่เข้มงวด การขาดความร่วมมือในการจัดการขยะ การขาดระเบียบวินัยในการจัดการขยะการขาดจิตสำนึกของประชาชน การทิ้งขยะไม่เป็นเวลา และการประชาสัมพันธ์ข่าวสารไม่ทั่วถึง 2) แนวทางในการจัดการขยะชุมชนของเทศบาลนครแหลมฉบังคือ จัดอบรมให้ความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะ การสร้างจิตสำนึก การเสริมสร้าง ระเบียบวินัย การรณรงค์และประชาสัมพันธ์ในการจัดการขยะ การบังคับใช้กฎหมายให้เข้มงวด และการเสริมสร้างความร่วมมือการมีส่วนร่วมในการจดัการขยะ จากผลการวิจัยดังกลว่าวจึงมีข้อเสนอแนะให้ผู้บริหารควรมีการกำหนดแผนการปฏิบัติงานระยะยาวที่เป็นระบบสำหรับการจัดการขยะของชุมชนแบบครบวงจร ผู้บริหารผลักดันให้มีการจัดทำยุทธศาสตร์ร่วมกันระหว่างหน่วยงานภายในพื้นที่รวมถึงประชาชนในชุมชน เพื่อให้เกิดการบูรณาการในการจัดการขยะโดยมีทิศทางและเป้าหมายร่วมกัน และเทศบาลควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์และการรณรงค์ในการจัดการขยะให้มากขึ้น เพื่อให้ทั่วถึงโดยผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ ให้ครอบคลุม
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectขยะ -- การจัดการ -- ชลบุรี
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป
dc.titleแนวทางในการจัดการขยะชุมชนของเทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeGuidelines for community wste mngement of lemchbng city municiplity, srirch district, choburi province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine community waste management of Leam Cha Bang Municipality and to investigate practical solving guidelines for waste management. The subjects participating in this study comprised 4 groups of residents of Leam Cha Bang Municipality. These informants participating in this study included municipal executives, waste collectors, community leaders, and people living in Leam Cha Bang Municipality. The data were collected by using an interview technique. The collected data were then analyzed by descriptive statistical tests. Also, a content analysis technique was used to analyze the data obtained from the interview. The results of the study revealed that, firstly, the causes of problem of waste management of Leam Cha Bang Municipality were due to the fact that this area was overpopulated and diversified. Moreover, the public lacked knowledge on waste management; the enforcement of laws was too relaxed and no collaboration and no disciplines in waste management among the public. In addition, the public lacked awareness; they threw waste at their own will. The advertisement for waste management was also conducted in a restricted manner. Secondly, regarding the practical solving guidelines for waste management, trainings for waste management should be organized for the public in order to raise their awareness and disciplines in waste management. There should also be campaigns and advertisements for waste management. Laws should be strictly enforced and public participation in waste management should be strongly encouraged. Based on these results, it is suggested that systematic, full-circled, and long-term plans for waste management should be made by administrators of Leam Cha Bang Municipality. Strategic plans should also be made collaboratively among internal units of Leam Cha Bang Municipality by involving people in the community to participle so that waste management could be conducted in the same directions and goals. Finally, more advertisements on waste management should be publicized via different media channels.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารทั่วไป
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.39 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น