กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4362
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพลวัตน์ เจริญธรขจรชัย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2022-05-22T08:49:33Z
dc.date.available2022-05-22T08:49:33Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4362
dc.descriptionได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยแบบบูรณาการ (นักวิจัยรุ่นใหม่) งบประมาณเงินกองทุนวิจัยและพัฒนา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562th_TH
dc.description.abstractโครงการวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาผลของอนุภาคคาร์บอนที่ได้จากการสังเคราะห์จากเปลือกทุเรียนด้วยกระบวนการเชิงเคมีความร้อนต่อคุณสมบัติของโฟมยางธรรมชาติ โดยอนุภาคคาร์บอนดังกล่าวเมื่อสังเคราะห์แล้วจะนำไปวัดขนาดอนุภาคและรูปร่าง รวมถึงค่าการกระจายตัวของอนุภาค จากการศึกษาพบว่าอนุภาคมีลักษณะทางสัณฐานวิทยาเป็นแผ่น มีขนาดอนุภาคเฉลี่ย 32.45 ไมโครเมตร และค่าการกระจายตัวของอนุภาคมีขนาดเล็กประมาณ 21 40 ไมโครเมตร เมื่อนำอนุภาคคาร์บอนดังกล่าวไปผสมกับโฟมยางธรรมชาติ พบว่าปริมาณการใส่อนุภาคที่มากขึ้นจะส่งผลให้พฤติกรรมการเชื่อมขวางโมเลกุลของโฟมยางธรรมชาติเกิดได้เร็วขึ้น ส่งผลให้ขนาดของฟองอากาศภายในมีขนาดเล็กลงและค่าความหนาแน่นซึ่งแสดงถึงปริมาณฟองอากาศที่อยู่ภายในมีค่าลดลง เนื่องจากการเชื่อมขวางโมเลกุลที่เกิดเร็วขึ้นทำให้ฟองอากาศถูกกักเก็บไว้ในเนื้อยาง แต่คุณสมบัติทางกลดีขึ้น เนื่องจาอนุภาคคาร์บอนเป็นสารเสริมแรง นอกจากนี้อัตราการขยายตัวทางความร้อนของโฟมยางธรรมชาติมีค่าลดต่ำลง เนื่องจากคุณสมบัติการนำความร้อนของอนุภาคคาร์บอนที่เติมลงไป ส่วนค่าการนำความร้อนของโฟมยางธรรมชาติไม่เปลี่ยนแปลงแม้ว่าจะเติมอนุภาคคาร์บอนเพิ่มขึ้น เนื่องจากคุณสมบัติการเป็นฉนวนทางความร้อนของอากาศภายในเนื้อยางมีมากขึ้น นอกจากนี้พบว่าอนุภาคดังกล่าวสามารถนำไปใช้แทนเขม่าดำที่ใช้ในอุตสาหกรรมยางได้ เนื่องจากคุณสมบัติของโฟมยางธรรมชาติที่ได้มีค่าใกล้เคียงกันth_TH
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectยางธรรมชาติth_TH
dc.subjectกลศาสตร์th_TH
dc.subjectโฟมth_TH
dc.titleการทดสอบคุณสมบัติเชิงกลและสัณฐานวิทยาของโฟมยางธรรมชาติผสมวัสดุคาร์บอนที่ได้จากกระบวนการเชิงเคมีความร้อนจากเปลือกทุเรียนth_TH
dc.title.alternativeMechanical properties and morphology of natural rubber foam composite with carbon produced by durian bark via thermo-chemical conversion processen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailpollawat.ch@buu.ac.thth_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research focused on effect of carbon content synthesized from durian bark via thermo-chemical process on foam formation, cure kinetics, mechanical and thermal properties of natural rubber (NRF) / carbon composites. The synthesized carbon exhibited platelet - like structure with average particle size around 32.45 micrometers. Moreover, the particle size distribution almost showed the small particle size around 21 - 40 micrometers. Although the result revealed that the high amount of synthesized carbon affected the fast cure kinetics of sulfur vulcanization reaction resulting in small bubble size in natural rubber foam matrix with low bulk density, the mechanical properties of NRF / carbon composites increased due to the reinforcing character of carbon materials. Furthermore, the coefficient of thermal expansion also reduced at high carbon content because of high thermal conductivity of carbon while the thermal conductivity of NRF / carbon composites did not change because the low bulk density of rubber foam referring to high gas bubble which was the high thermal insulation properties could obliterate the thermal conductivity of synthesized carbon. In addition, the result of NRF composite with synthesized carbon from durian bark could be used as the carbon filler instead of carbon black in rubber industries caused by the high performance of reinforcing effect of synthesized carbon.en
dc.keywordสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2565_057.pdf1.06 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น