กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3753
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุวรรณา รัศมีขวัญ
dc.contributor.authorกฤษณะ ชินสาร
dc.contributor.authorภูสิต กุลเกษม
dc.contributor.authorเบญจภรณ์ จันทรกองกุล
dc.contributor.authorอัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์
dc.contributor.authorชิดชนก เหลือสินทรัพย์
dc.contributor.authorวัชรพงศ์ อยู่ขวัญ
dc.contributor.authorสิริวรรณ พงษศิริ
dc.contributor.authorอรศิริ สิงขรณ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ
dc.date.accessioned2020-01-31T06:54:20Z
dc.date.available2020-01-31T06:54:20Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3753
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้นำเสนอการสร้างคืนแบบจำลองกระดูกสันหลังส่วนเอวสามมิติของมนุษย์จากภาพถ่ายรังสีพลังงานต่ำเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของแพทย์และ ผู้เชี่ยวชายในงานด้านต่าง ๆ ในขั้นตอนวินิจฉัยทางคลินิก เนื่องจากแบบจำลองสามมิติของกระดูกสันหลังมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในโลกปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น การรักษาทางไกล (Tele-medicine) หรือแม่แต่การสร้างตัวแบบการพยากรณ์ การก่อโรคหรือความเสียหายต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นบริเวณกระดูกสันหลัง นอกจากนี้แล้วยังสามารถอำนวยความสะดวกให้แพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญในการสื่อสารทำความเข้าใจกับคนไข้ได้อีกด้วย ซึ่งเทคโนโลยีในการสร้างแบบจำลองสามมิติในปัจจุบันจะต้องอาศัยอุปกรณ์ทางการแพทย์ขั้นสูงซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูงและส่งผลเสียต่อผู้ป่วยโดยตรง เช่น เครื่องถ่ายภาพรังสีแบบ CT Scanner และ MRI เป็นต้น เมื่อผู้ป่วยเข้ารับการตรวจผ่านเครื่อง CT Scanner จะทำให้ตัวผู้ป่วยได้รับรังสีที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพในระยะยาว ส่วนเครื่องถ่ายแบบ MRI จะมีความปลอดภัยมากกว่าแต่มีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูงทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถเข้าถึงได้อย่างทั่วไป ดังนั้นเครื่องถ่ายภาพรังสีพลังงานต่ำ (DXA) จึงเป็นทางเลือกที่มีความปลอดภัยและคุ้มค่ามากกว่า เนื่องจากภาพถ่ายรังสีที่ได้จากเครื่อง DXA มีความคมชัดต่ำรวมถึงภาพถ่ายทั้งสองมุมมองที่ได้จากเครื่องดังกล่าวมีตำแหน่งและขนาดที่ไม่เท่ากันดังนั้นการปรับปรุง (Image Enhancement) และระบุพื้นที่ที่สนใจ (ROI Identification) เป็นขั้นตอนที่จำเป็นสำหรับงานวิจัยนี้ จากนั้นจะต้องระบุพื้นที่ที่เป็นตำแหน่งของข้อกระดูกของแต่ละมุมมอง (Vertebrae Pose Identification) เพื่อทำการยืนยันข้อมูลภาพทั้งสองมุมมองเข้าหากัน (Registration) จากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้จากภาพทั้งสองมุมมองสร้างคืนแบบจำลองสามมิติจาก Template มาตรฐานของข้อกระดูกสันหลังของมนุษย์ต่อไป จากขั้นตอนวิธีที่กล่าวมาในข้างต้น สามารถวัดผลการทดลองได้จากการวัดค่าความคลาดเคลื่อนในพื้นที่สามมิติ เพื่อหาความแตกต่างของแบบจำลองที่สร้างขึ้นและผลเฉลย ซึ่งผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าข้อกระดูกส่วนบนและส่วนมีค่าความคลาดเคลื่อนมากที่สุดเนื่องจากมีกระดูกส่วนอื่นมาบดบังและรวมไปถึงส่งรบกวนอื่นเช่น ไขมันและแคลเซี่ยมมาบดบังบริเวณข้อกระดูกอีกด้วยth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบุรพาth_TH
dc.titleการประกอบคืนสภาพจากภาพกระดูกสันหลังสองมิติเป็นภาพสามมิติเพื่อสนับสนุนการวินิจฉัยทางคลินิกและการคำนวณมวลกระดูกแบบอัตโนมัติth_TH
dc.title.alternativeDimension Vertebral Bone Image Reconstruction into 3 Dimension for Supporting Clinical Analysis and Bone Mass Automatic Calculationen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailkrisana@buu.ac.th
dc.author.emailrasmequa@buu.ac.th
dc.author.emailpusit@buu.ac.th
dc.author.emailbenchapo@buu.ac.th
dc.author.emaillchidcha@chula.ac.th
dc.author.emaillekonsiri@gmail.com
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeThree Dimension model of human spine become an important material in variety of medical routine. Many applications were proposed to reconstruct a 3D model of human spine. By using images form CT scanner or another High dose of X-ray machine, the model of human vertebrae is deformed. Dual-Energy X-ray Absorptiometry Scanner plays an important role in medical diagnosis and clinical routine. Typically, this kind of machine produces two radiography images of human spine consisted of Anteroposterior and Lateral side. However, these two images provided different viewpoints. Thus, in this proposed method consists of three main phase. Firstly, Region of interest of human lumbar spine is proposed. In the second phase, the vertebrae pose is identified for registration. In the final phase, the three dimensional model of human spine was deformed. In the first phase, a method for segmenting region of interest on lumbar spine using a horizontal projection and geometric triangulation analysis is proposed. The proposed method offered an automated detection of lumber spine that can reduce computational time and complexity in medical diagnosis. The result of the proposed method can help support many applications such as lumbar vertebrae pose segmentation, bone mineral density analysis and vertebral pose deform In the second phase, we proposed a method to automatically estimate human vertebrae pose in lateral-side image by using Multi-theta Orientation Gabor Filter combined with Principle Component Analysis and Geometric Ellipse Shape Analysis. The proposed method offered an automated estimation of human lumbar vertebrae pose that can reduce work load of radiologist, computational time and complexity in various bone clinical applications. The result of the proposed method can help support many applications such as lumbar vertebrae pose segmentation, bone mineral density analysis and vertebral pose deformation. The proposed method can estimate the vertebrae pose with 86.4% for accuracy, 80.5% of recall, precision for 89.11% and 13.6% of false negative rate. In the final phase, the three-dimensional model template of human vertebrae is used to deform a model of human lumbar vertebrae from L1 to L4. The template file contains vertices and polygon-faces of lumbar shape in three-dimensionen
dc.keywordการคำนวณมวลกระดูกth_TH
dc.keywordการสร้างแบบจำลองสามมิติth_TH
dc.keywordซอฟต์แวร์วัดมวลกระดูกth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_244.pdf2.94 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น