กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3659
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorณัฐพล ชมแสง
dc.contributor.authorชุติมันต์ จันทร์เมือง
dc.contributor.authorพรเกียรติ ชื่นจิตอภิรมย์
dc.contributor.authorสุทธาวัลย์ อิ่มอุไร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะอัญมณี
dc.date.accessioned2019-07-30T02:48:57Z
dc.date.available2019-07-30T02:48:57Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3659
dc.description.abstractโลหะผสมเงิน-ทองแดง-อะลูมิเนียม (A356) และโลหะผสมเงิน-ทองแดง-อะลูมิเนียม เทียบกับ โลหะเงิน-ทองแดง และ โลหะเงิน-อะลูมิเนียม ประกอบด้วย 93%Ag-6.5%Cu-0.5%Al (A356), 93%Ag-6%Cu-1%Al (A356) และ 93%Ag-5.5%Cu-1.5%Al (A356), 93%Ag-6.5%Cu-0.5%Al, 93%Ag-6%Cu-1%Al และ 93%Ag-5.5%Cu-1.5%Al, 93%Ag-7.0%Cu และ 93%Ag-7.0%Al หล่อด้วยกระบวนการสุญญากาศ หล่อที่อุณหภูมิ 1100C และต่อมาบ่มที่ 300C เป็นเวลา 1 3 6 และ 9 ชั่วโมง ชิ้นงานหลังหล่อและบ่มศึกษาองค์ประกอบเคมีด้วย Inductively couple plasma (ICP) และ ไตเตรชั่น ศึกษาโครงสร้างจุลภาคด้วยกล้องจุลทรรศน์แสงและกล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราดพร้อมติดตั้งสเปกโตรมิเตอร์การกระจายตัวพลังงานรังสีเอ็กซ์ (EDS) ทดสอบการคงทนการหมอง แลวัดสีด้วยเครื่องวัดสี วัดความแข็งด้วยเครื่องวัดจุลภาคแบบวิกเกอร์ ทดสอบความต้านทานแรงดึง ด้วยเครื่องทดสอบแรงดึงอเนกประสงค์ ผลการทดลองพบว่าองค์ประกอบทางเคมีหลังหล่อชิ้นงานไม่ ต่่ากว่าโลหะเตรียมก่อนหล่อหลังตรวจสอบด้วย ICP ไตเตรชั่น และ EDS ส่าหรับโครงสร้างชิ้นงาน หลังหล่อมีลักษณะเป็นเดนไดรต์ที่มีเงินเป็นส่วนผสมหลัก และพบเฟสที่มีลักษณะเป็นแท่งสีดำใน ตัวอย่างโลหะเงิน-อะลูมิเนียม หลังบ่มเกรนมีขนาดใหญ่และมีตะกอนขนาดเล็กเกิดขึ้น การทดสอบสี พบว่าโลหะเงินที่ผสมอะลูมิเนียมจะมีสีเทาเมื่อเทียบกับเงินสเตอร์ลิง การเติมอะลูมิเนียมมีผลต่อการเพิ่มความแข็งและหลังจากบ่มมีความแข็งที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับชิ้นงานหลังหล่อ นอกจากนี้การทดสอบความต้านทานแรงดึงแสดงให้เห็นว่าเงินสเตอร์ลิงมีความต้านทานแรงดึงสูงกว่าโลหะเงินที่เติม อะลูมิเนียมในทุกตัวอย่าง หลังจากบ่มค่าความต้านทานแรงดึงสูงขึ้นเมื่อเทียบกับชิ้นงานหลังหล่อ ขณะที่ค่าความยึดจะลดลงหลังจากการบ่มเนื่องจากโลหะมีความแข็งแต่เปราะมากขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะอัญมณี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรีth_TH
dc.subjectโลหะth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleการปรับปรุงความแข็งโลหะเงินสเตอร์ลิงสำหรับเทคนิคการฝังไร้หนามth_TH
dc.title.alternativeSterling Silver Hardness Improvement for Invisible Setting Techniqueen
dc.typeResearchen
dc.author.emailpornkiatch@hotmail.com
dc.year2560en
dc.description.abstractalternativeSilver-copper-aluminium (A356) and silver-copper-aluminium compared with silver-copper and silver-aluminium including 93%Ag-6.5%Cu-0.5%Al (A356), 93%Ag6%Cu-1%Al (A356) and 93%Ag-5.5%Cu-1.5%Al (A356), 93%Ag-6.5%Cu-0.5%Al, 93%Ag6%Cu-1%Al and 93%Ag-5.5%Cu-1.5%Al, 93%Ag-7.0%Cu and 93%Ag-7.0%Al was cast by vacuum casting machine. The samples were cast at 1100C. Subsequently, all of samples were aged at 300C for 1, 3, 6 and 9 hours. As-cast and aged samples were analyzed chemical composition with Inductively couple plasma (ICP) and titration. Microstructure was investigated with optical microscope (OM) and scanning electron microscope (SEM) equipped with energy dispersive x-ray spectrometer (EDS). Samples were tested tarnishing resistance and inspected color by colorimeter. Hardness of samples was tested by Vickers microhardness tester. Tensile samples were operated by universal tensile testing machine. After inspection chemical composition with ICP and titration, Ag element after casting was found in range of sterling silver standard. Microstructures of as-cast sample revealed dendrite of α-Ag rich phase. Moreover, black rod-shaped phase was found in Al-added sample. After ageing, grain growth and precipitate were found by OM and SEM, respectively. Color of Al-added sample had gray color compared with sterling silver. Hardness was increased in Al-added samples and aged samples compared with as-cast samples. Moreover, sterling silver had shown tensile strength higher than that of silver added aluminium in all samples. Elongation of aged sample was decreased due to stiff behavior after ageingen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_148.pdf4.69 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น