กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3533
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorณัฐนนท์ ลีลาตระกูล
dc.contributor.authorภารุจ รัตนวรพันธุ์
dc.contributor.authorอุรีรัฐ สุขสวัสดิ์ชน
dc.contributor.authorโกเมศ อัมพวัน
dc.contributor.authorจักริน สุขสวัสดิ์ชน
dc.contributor.authorสุนิสา ริมเจริญ
dc.contributor.authorกรชวัล ชายผา
dc.contributor.authorเอกภพ บุญเพ็ง
dc.contributor.authorพีระศักดิ์ เพียรประสิทธิ์
dc.contributor.authorพรภิรมย์ มั่นฤกษ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ
dc.date.accessioned2019-04-30T02:24:31Z
dc.date.available2019-04-30T02:24:31Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3533
dc.description.abstractงานวิจัยนี้นำเสนอระบบการรับส่งข้อความและรูปภาพที่เป็นความลับด้วยโทรศัพท์มือถือ สำหรับ หน่วยงานที่ต้องการความมั่นคงของข้อมูล โดยคณะผู้วิจัยได้ทดสอบแชทแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนที่มีชื่อ ว่า “Signal” ซึ่งเป็นแอปพลิเคชันที่มีความปลอดภัยสูง และยังเป็นแอปพลิเคชันประเภท Open Source ซึ่งสามารถนำมาปรับเปลี่ยนให้เหมาะกับการส่งข้อความแชทภายในองค์กร (บางองค์กรต้องการความปลอดภัยในการติดต่อสื่อสารกันผ่านแชทแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน และเครื่องแม่ข่ายที่อยู่ในองค์กรนั้น ๆ ) ทั้งนี้คณะผู้วิจัยได้เลือกโปรแกรมทดสอบที่มีมาตรฐานจากบริษัทโทรคมนาคมขนาดใหญ่ AT&T เพื่อทดสอบประสิทธิภาพด้านต่าง ๆ ของแอปพลิเคชัน เครื่องมือที่นำมาทดสอบคือ “application resource optimizer (ARO)” โดย ARO สามารถรายงานผลการทดสอบในด้านต่าง ๆ ได้อย่างครอบคลุม นอกจากนี้งานวิจัยนี้ยังได้มีการพัฒนาส่วนยืนยันตัวตนเพิ่มเติมในแชทแอปพลิเคชัน (Signal) โดยนำการสแกนลายนิ้วมือ และการใส่ Pattern มาใช้เป็นรูปแบบในการยืนยันตัวตน เพื่อป้องกันผู้ไม่หวังดีหรือบุคคลอื่นที่ไม่ใช่เจ้าของสมาร์ทโฟน ไม่ให้เข้าถึงหรือเข้าใช้งานแชทแอปพลิเคชัน (Signal) โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของสมาร์ทโฟนth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมานเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่th_TH
dc.subjectการป้องกันข้อมูลth_TH
dc.subjectไมโครคอมพิวเตอร์ -- การควบคุมการเข้าถึงth_TH
dc.subjectสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleระบบการรับส่งข้อความและรูปภาพที่เป็นความลับด้วยโทรศัพท์มือถือ สำหรับหน่วยงานที่ต้องการความมั่นคงของข้อมูลth_TH
dc.title.alternativeSecure Mobile Messaging System for Organizations Requiring Information Safetyth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailnutthanon@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailparuj.r@ku.ac.thth_TH
dc.author.emailureerat.w@gmail.comth_TH
dc.author.emailkomate@gmail.comth_TH
dc.author.emailjakkarin@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailrsunisa@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailaekapop@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailpeerasak@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailphornphirom@gmail.comth_TH
dc.year2559th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research presents a secure mobile messaging system for organizations requiring information safety. We test results of a highly secure mobile chat app, called “Signal”. Signal is an Open Source application, which we can modify suit to send chat messages within private organizations, that need more security. In this research, we use “ARO”, a mobile app testing application, developed by AT&T, to test Signal (regarding energy usage and security issues). We found that “ARO” can report testing result comprehensively. In addition, we developed an additional authentication feature in a chat application (i.e., Signal). The feature includes fingerprint scanning and pattern input, aiming to protect impersonation breaches. Specifically, the feature helps protecting attackers from an access to the chat application (Signal) without permission from owners of smartphonesth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2562_080.pdf7.98 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น