กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3091
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร
dc.contributor.authorอาพันธ์ชนิต เจนจิต
dc.contributor.authorเบญจวรรณ ภักดีวงษ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:21:15Z
dc.date.available2019-03-25T09:21:15Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3091
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หลังการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กับเกณฑ์ร้อยละ 70 และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์หลังการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS เรื่อง อสมการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนนายายอามพิทยาคม อำเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี จำนวน 31 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ SSCS จำนวน 11 แผนใช้เวลา 14 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการ ซึ่งมีค่าความเชื่อมมั่นเท่ากับ 0.74 และ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.86 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ t-test for one sample ผลการวิจัยปรากฎว่า นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หลังการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS เรื่อง อสมการ สูงกว่าเกณ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์หลังการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS เรื่อง อสมการ สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการแก้ปัญหาth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์ - - การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.subjectอสมการth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3th_TH
dc.title.alternativeThe effects of SSCS learning management on ability of problem solving and its impact on mathematicslearning achievement in inequality of Matthayomsueksa 2 stdentsen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume10
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to compare the ablitily to solve the mathematical problems learning inequality through SSCS Model of Mathayomsueksa 3 students criteria of 70 percent and mathematics learning achievement after learning inequality through SSCS Model. The sample group consists of 31 students at 3/1 Nayaiampittayakhom School Nayaiam District Chanthaburi Provinceby cluster random sampling. The instruments used in the experiment are 1) 11 lesson plans of SSCS used for 14 hours. 2) Test the ability to solve the mathematical problems which has a reliability of 0.74 3) A mathematics achiecement test on inequality, which has the reliable of 0.86. Analysis used t-test for one sample. The results showed that the students have the ability to solve mathematical problems about inequality using SSCS Model higher than the criteria of 70 percent that is statistically significant at the .05 level. And the students' mathematics achievement after learning through SSCS model about inequality higher than the criteria of 70 percent, statistically significant at the .05 level.en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page212-222.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edusocial10n2p212_222.pdf156.13 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น