กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1995
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสกุล อ้นมาth
dc.contributor.authorประทุม อังกูรโลหิตth
dc.contributor.authorบุญเลิศ ยองเพ็ชรth
dc.contributor.authorขันทอง วิชาเดชth
dc.contributor.authorพิชญรัตน์ เหมนาไลยth
dc.contributor.authorรุ่งนิภา เหลียงth
dc.contributor.authorปัทวี สัตยวงศ์ทิพย์th
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:10:03Z
dc.date.available2019-03-25T09:10:03Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1995
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยบูรพาศึกษาการประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง 2554) สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา ภาควิชาศาสนาและปรัชญา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นการสัมภาษณ์และแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ใช้การสัมภาษณ์กลุ่ม และแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น ชุดได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต โดยนิสิต บัณฑิต และแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพบัณฑิต โดยผู้ใช้บัณฑิต เครื่องมือได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยอาศัยผู้เชี่ยวชาญด้านวิจัย 5 ท่าน และนำมาทดสอบความเที่ยง จำนวน 30 ชุดได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค โดยแบ่งออกได้เป็น นิสิต = 0.98 บัณฑิต = 0.97 และผู้ใช้บัณฑิต = 0.95 การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ แบบ มาตราส่วนประมาณค่า 5 อันดับ ผลการวิจัยพบว่า ด้านบริบท ได้แก่ วัตถประสงค์ของหลักสูตร มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง (X=3.42) ด้านเนื้อหารายวิขาของหลักสูตรมีค่าเฉลี่ย ความเหมาะสมอยูในระดับดี (X=3.90) ด้านปัจจัยเบื้องด้น ได้แก่ คุณลักษณะของอาจารย์ มีค่าเฉลี่ย ความเหมาะสมอยู่ในระดับดี (X=4.21) ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ใน ระดับดี (X=3.88) ด้านกระบวนการ ได้แก่ ด้านกระบวนการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ในระดับดี (X=3.96) ด้านการประเมินผล มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยูใน ระดับดี (X=4.05) ด้านผลผลิต ไดแก่ คุณภาพของบัณฑิต ด้านความร้ ความสามารกและทักษะ การปฎิบตงานของบัณฑิตโดยผู้ใข้บัณฑิต มีภาพรวมอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยที่ (X=4.15) ด้าน คุณธรรม จริยธรรมและเจตคติต่อการทำงาบของบัญฑิต มีภาพรวมอยู่ใบระดับดี มีค่าเฉลี่ยที่ (X=4.34) ด้านบุคลิกภาพและมนุษยสัมพเนธ์ของบัณฑิต มีภาพรวมอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยที่ดี (X=4.22)th_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ 2558 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.subjectการประเมินหลักสูตรth_TH
dc.subjectการศึกษา -- หลักสูตรth_TH
dc.titleการประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง 2554) สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา ภาควิชาศาสนาและปรัชญา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.title.alternativeThe evaluation of the Bachelor of Arts, Religion and Philosophy Program (revised curriculum 2011),Department of Religion and Philosophy, Faculty of Humanities and Social Science, Burapha Universityen
dc.typeงานวิจัยth_TH
dc.author.emailpattawee@buu.ac.th
dc.author.emailsakunkorn07@gmail.com
dc.author.emailboonlert@buu.ac.th
dc.author.emailpangurarohita@gmail.com
dc.author.emailkhanthong.w@buu.ac.th
dc.author.emailaupitchism@gmail.com
dc.author.emailrungnipa@buu.ac.th
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research was to evaluate the curriculum of bachelor degree program in Religion and Philosophy(revised program of 2011), Department of Religion and Philosophy, Faculty of Humanities and Social Sciences, Burapha University by means of quantitative and qualitative methodology of research. The tools being used in this research were an interviews and questionnaires. The form of an interview was a group interview, whereas questionnaires were classified into 2 sets; first set of a questionnaire would be asked about opinions of students, graduated students toward bachelor degree of arts in religion and philosophy, the second set of a questionnaire which was about the quality of graduated students would be accumulated from asking the employers of graduated students. The content of the research tool would be verified by 5 research specialists, and 30 copies of the content would be brought into the test of reliability by means of Cronbach's alpha of coefficient cf reliability. The Cronbach's alpha of coefficient of reliability in students was o.98, in graduated students o.97, and in the employers of graduated students 0.95. The query scale estimated the level of 5 would be analyzed by means of an average, standard deviation, and percentage. The research results were as follows The context aspect which is the objectives of the curriculum was appropriate at a middle level(X 3.42), whereas the content of the curriculum was appropriate at a good level(X 3.90) The aspect of the input which is the teacher's characteristics was appropriate at a good level X 4.21), and facilities were also appropriate at a good level(X 3.88) The aspects of the process which consist of learning process and learning activities were appropriate at a good level X 3.96), and aspect of evaluation was appropriate at a good level(X 4.05). The aspects of output which were the qualities of the graduated students, knowledge, abilities and work skills of the graduated students as whole, which were tested by their employers, were appropriated at a good level(X 4.15). The aspects of virtues and morals as well as work attitudes of graduated students as a whole were appropriate at a good level(X 4.34). The aspects of personality and human relations as a whole were appropriate at a good level (X 4.22)en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2566_139.pdf5.03 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น