กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1994
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศิริวรรณ สมนึกth
dc.contributor.authorปัณฑา โกกองth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:10:03Z
dc.date.available2019-03-25T09:10:03Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1994
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบการเคลื่อนไหวในระยะยาวของผลตอบแทนหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกับปัจจัยเศรษฐกิจมหภาค ได้แก่ อัตราดอกเบี้ยระหว่างธนาคาร ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง ดัชนีดาวโจนส์ของประเทศสหรัฐอเมริกา ดัชนีนิเคอิ ของประเทศญี่ปุ่น ดัชนีเซี่ยงไฮ้คอมโพสิตของประเทศจีน ดัชนีสเตรทไทม์ของประเทศสิงคโปร์ ดัชนีจาการ์ตาคอมโพสิตของประเทศอินโดนีเซีย ดัชนีค่าเงินบาทที่แท้จริง ดัชนีราคาผู้บริโภค และราคาทองคำ โดยอาศัยข้อมูลอนุกรมเวลารายเดือนตั้งแต่มกราคม พ.ศ. 2548 ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2558 และนำข้อมูลมาทดสอบความสัมพันธ์ในเชิงดุลยภาพระยะยาวด้วยการทดสอบโคอินทิเกรชั่น และประมาณค่าความสัมพันธ์ในเชิงดุลยภาพระยะยาวด้วยแบบจำลอง Autoregressive Distributrd Lag (ARDL) ซึ่งเป็นแบบจำลอง ที่ใช้ในการประมาณค่าความสัมพันธ์ระยะยาวระหว่างตัวแปรต่างๆได้ ซึ่งจากการทดสอบพบว่า ในระยะยาว อัตราดอกเบี้ยระหว่างธนาคาร ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง ดัชนีสเตรทไทม์ และดัชนีจาการ์ตา มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับผลตอบแทนของหลักทรัพย์ ส่วนดัชนีค่าเงิน บาทที่แท้จริง ดัชนีเซี่ยงไฮ้คอมโพสิต ดัชนีราคา ผู้บริโภค และราคาทองคำ มีความสัมพันธ์ ในทิศทางตรงข้ามกับผลตอบแทนของหลักทรัพย์ ขณะที่ในระยะสั้น พบว่าดัชนีจาการ์ตามีความสัมพันธ์ในทิสทางเดียวกับผลตอบแทนของหลักทรัพย์ ส่วนราคาทองคำมีความสัมพันธ์ในทิศทาง ตรงข้ามกับผลตอบแทนของหลักทรัพย์th_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2559en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectปัจจัยเศรษฐกิจมหภาค ARDLth_TH
dc.subjectผลตอบแทนหลักทรัพย์th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเศรษฐกิจมหภาคกับผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between macroeconomic factors and returns in Thailand stock exchangeen
dc.typeResearch
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeThis paper examines the long run dynamics of stock returns and macroeconomic factors which included interbank rate, broad money, Dow Jones index (New York), Nikkei index (Japan), Straits Times index (Singapore), JSX composite (Indonesia), real effective exchange rate, consumer price index, and gold price. The empirical investigation employed on monthly data from January 2005 to November 2015. Analyze the long-run relationship between them with The Autoregressive Distributed Lag (ARDL). The result suggested that in long run, it revealed positive relationship was founded among stock return and interbank rate, broad money, Straits Times index (Sigapore), JSX composite (Indonesia). On the contrary, the negative relationship was founded among stock return and real effective exchange Rate, JSX composite (Indonesia), consumer price index, and gold price. In the short run, it expressed positive relationship between stock return and JSX composite (Indonesia) and negative relationship with gold prices.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2566_095.pdf3.67 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น