กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1787
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.authorศักดิ์จุฬา นามจันทร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:08:42Z
dc.date.available2019-03-25T09:08:42Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1787
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาผลกระทบของคอนกรีดที่ใช้เถ้าก้นเตาแทนที่ทรายบางส่วนต่อต้านความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ ระยะเวลาการเกิดสนิม การสูญเสียน้ำหนักของเหล็กเสริมกำลังอัด ความพรุนและขนาดโพรงช่องว่างภายในเฉลี่ยคอนกรีดเผชิญสิ่งแวดล้อมทะเลเป็นระยะเวลา 2 ปี ตัวอย่างคอนกรีตใช้อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน 0.04 และ 0.50 มีการแทนที่ทรายด้วยเถ้าก้นเตาที่ร้อยละ 0 10 และ 30 โดยปริมาณของทราย จากการศึกษาพบว่าคอนกรีดจะมีความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ที่สูงขึ้นและการสูญเสียน้ำหนักของเหล็กเสริมลดลงเมื่อใช้เถ้าก้นเตาแทนที่ทรายร้อยละ 30 โดยปริมาณของมราย จากการศึกษาพบว่าคอนกรีตจะมีความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ที่สูงขึ้นและการสูญเสียน้ำหนักของเหล็กเสริมลดลงเมื่อใช้เถ้าก้นเตาแทนที่ทรายมากขึ้น คอนกรีตที่ใช้เถ้าก้นเตาแทนที่ทรายร้อยละ 10 มีกำลังอัดสูงกว่าคอนกรีดทั่วไปแต่เมื่อแทนที่ทรายร้อยละ 30 กำลังอัดมีค่าลดลง อย่างไรก็ตามพบว่า คอนกรีดที่ใช้เถ้าก้นเตาถ่านแทนที่ทรายมีความพรุนสูงขึ้นและมีขนาดโพรงช่องว่างภายในเฉลี่ยใหญ่ขึ้น ความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์และกำลังอัดสูงขึ้นของคอนกรีตที่ใช้เถ้าก้นเตามาจากกำลังที่สูงขึ้นของเพสต์บริเวณรอบอนุภาคของเถ้าเตาเนื่องมาจากผมของการบ่มภายในปฏิกิริยาปอซโซลานิคของเถ้าก้นเตาและความสามารถในการเก็บกักความชื้นของเถ้าก้นเตาth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อส่งเสริมความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคอนกรีตth_TH
dc.subjectเถ้าก้นเตาth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้เถ้าก้นเตาแทนที่ทรายบางส่วนสำหรับคอนกรีตภายใต้สิ่งแวดล้อมทะเลth_TH
dc.title.alternativeThe application of bottom ash as partially sand replacement for concrete under marine environmenten
dc.typeResearch
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the effect the application of bottom ash partially replacement of send on chloride penetration resistance, compressive strength and pore structure of concrete specimens were exposed to marine environment for 2 year. The concrete specimens with water to binder ratio of 0.40 and 0.50 were used. The partially replacement of sand by bottom ash in sand at 10% and 30% by volume were applied. Form the study results, it was found that concrete with higher bottom ash and replacement in sand has higher chloride penetration resistance and lower weight loss of rebar in concrete. Concretes with 10% bottom ash penetration resistance and lower weight loss of rebar in concrete. Concretes with 10% bottom ash replacement have higher compressive strength than normal concrete. Concretes with 10% bottom ash replacement have higher bottom ash replacement have higher compressive strength than normal concrete, but become lower at 30% bottom ash replacement. However, concretes with bottom ash partially replacement of sand have higher porosity and larger pore diameter. The higher chloride penetration resistance and compressive strength in concrete with bottom ash come from the higher strength of pastes surrounding the bottom ash particles due to the effects of internal curing, pozzolanic reaction of the bottom ash and ability of moisture retain in bottom ash.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น