กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1214
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ
dc.contributor.authorกมลชนก ปานสง่า
dc.contributor.authorณัฐนรินทร์ ศรีเอกกวีรัตน์
dc.contributor.authorสรเพชร ภิญโญ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:20Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:20Z
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1214
dc.description.abstractการทดสอบปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชันโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็งที่พัฒนาในงานวิจัยนี้ ได้แก่แคลเซียมออกไซด์ (CaO(rt)), แคลเซียมออกไซด์เผาที่อุณหภูมิ 800 ºc (CaO(800ºc)), สตรอนเทียมออกไซด์ (SrO), 5% สตรอนเทียมออกไซด์บนแคลเซียมออกไซด์ (5%SrO/CaO), 5% โพแทสเซียมออกไซด์บนแคลเซียมออกไซด์ (5%K_2 O/CaO) และ สตรอนเทียมออกไซด์ผสมกับแคลเซียมออกไซด์ที่ 50% โดยน้ำหนัก (50SrO/50CaO) ตัวเร่งปฏิกิริยาถูกน้ำไปทดสอบที่อัตราส่วนของน้ำมันปาล์มและเมทานอลโดยโมล (1: 6), อุณหภูมิ 65 ºc และระยะเวลาทดสอบ 3 ชม. โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา 10% โดยน้ำหนัก พบว่า % Fatty Acid Methyl Ester (%FAME) ที่เกิดจากปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชันของตัวเร่งปฏิกิริยา 50SrO/50CaO, SrO, CaO(rt) และ CaO(800ºc) ที่ 92%, 91%, 89% และ 83% ตามลำดับ ซึ่งสอดคล้องกับปริมาณและความแข็งแรงของเบสบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาทดสอบโดยวิธีการคายซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ตามโปรแกรมอุณหภูมิ (CO_2- Temperature Programmed Desorption) และพื้นที่ผิวของตัวเร่งปฏิกิริยา สำหรับตัวเร่งปฏิกิริยา 5%K_2 O/CaO และ 5%SrO/CaO ไม่สามารถเร่งปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชัน เนื่องจากไม่พบกลีเซอรอลหลังจากการทดสอบ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากปริมาณเบสที่มีความแข็งแรงมากกว่า 500 ºc จำนวนต่ำจึงไม่สามารถเร่งการเกิดปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชันth_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดย ทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชันth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการศึกษาปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชันของตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็งth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2553
dc.description.abstractalternativeThe transesterification was tested by solid catalysts which were developed in the present study i.e. Calcium Oxide (CaO), Calcium Oxide after firing at 800 ºc, Strontium Oxide (SrO), 5% Strontium oxide on Calcium oxide (5%SrO/CaO), 5% Potassium oxide on Calcium oxide (5%K_2 O/CaO) and Strontium oxide mechanically mixed with Calcium oxide at 50% by weight (50SrO/50CaO). The transesterification was carried out at molar ratio of Palm oil and methanol at 1 : 6, 65 ºc and 3 h. The solid catalyst was employed at 10% by wt of Palm oil. The transesterification revealed % Fatty acid methyl ester (%FAME) of 50SrO/50CaO, SrO, CaO(rt) and CaO(800ºc) at 92%, 91%, 89% and 83%, respectively. The percentages of FAME are in accordance with a number of base sites, basic strengths and BET surface area. No trace of glycerol was found by %5K_2 O/CaO and 5%SrO/CaO, hence the transesterification can be catalyzed by neither %K_2 O/CaO nor 5%SrO/CaO possibly due to lack of strong basic sites.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น