กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10119
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสมบัติ ธำรงสินถาวร
dc.contributor.authorวรัญญา เทวรินทร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.date.accessioned2023-09-18T07:53:52Z
dc.date.available2023-09-18T07:53:52Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10119
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กจ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการสูบบุหรี่เป็นปัญหาสำคัญในประเทศไทย โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น จากข้อมูลปัจจุบัน พบว่า ในกลุ่มวัยรุ่นมีอัตราการสูบเพิ่มสูงขึ้น และเริ่มสูบในอายุที่น้อยลง ดังนั้นการเฝ้าระวังไม่ให้เกิดนักสูบหน้าใหม่ในขณะที่ยังเป็นวัยรุ่นอยู่ จึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับของทัศนคติหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ของกลุ่มวัยรุ่นที่ไม่เคยสูบบุหรี่ 2. ศึกษาระดับของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อทัศนคติหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ของกลุ่มวัยรุ่นที่ไม่เคยสูบบุหรี่ 3. ศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อทัศนคติหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ของกลุ่มวัยรุ่นที่ไม่เคยสูบบุหรี่ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มวัยรุ่น จำนวน 384 คน ที่มี อายุระหว่าง 15-24 ปีที่ไม่เคยสูบบุหรี่และกำลังศึกษาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรีใช้การสุ่มตัวอย่างแบบอาศัยความสะดวกเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ความแปรปรวน การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุเพื่อทดสอบสมมติฐานการวิจัย ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า มีตัวแปรอิสระ 2 ตัว ที่จัดอยู่ในปัจจัยด้านตนเอง ได้แก่ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และความสามารถในการปฏิเสธเพื่อหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อทัศนคติหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ของกลุ่มวัยรุ่นที่ไม่เคยสูบบุหรี่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาแนวทางป้องกัน การสูบบุหรี่ของวัยรุ่น เช่น นำตัวแปรข้างต้นมาพัฒนาเป็นโปรแกรมการปฏิเสธบุหรี่เชิงบวกเพื่อให้วัยรุ่นได้มีทักษะชีวิตในการป้องกันตนเองจากการสูบบุหรี่และเพื่อเป็นการส่งเสริมสมรรถภาพด้านการรับรู้ความสามารถในตนเอง
dc.language.isoth
dc.publisherคณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.subjectการสูบบุหรี
dc.subjectการสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
dc.titleอิทธิพลของกลยุทธ์การตลาดเพื่อสังคมปัจจัยด้านตนเอง ครอบครัวและสังคมที่ส่งผลต่อทัศนคติหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ของกลุ่มวัยรุ่นที่ไม่เคยสูบบุหรี่
dc.title.alternativeThe influence of socil mrketing fctors, self relted fctors, fmily relted fctors nd socil fctors to ttitute towrd smoke voidnce mong never smoked dolescences
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeSmoking is an important problem in Thailand, especially among adolescents. Based on current data, it is found that the growth rate of adolescent smokers has been increasing. Moreover, new smoke tend to start smoking at lower age. The smoking prevention of new smokers among young people were considerable. The purposes of this study were : 1. to study the level of attitude toward smoking avoidance among never smoked adolescent, 2. to study the level of the factors to influence the attitude toward smoking avoidance among never smoked adolescent, 3. to study the factors to influence the attitude toward smoking avoidance among never smoked adolescent. The study was a quantitative research. The sample consisted of 384 adolescents aged 15- 24 years who have never smoked and studying In Muang district Chonburi Province and used convenience sampling. Data were collected by using the questionnaires. The data were analyzed by descriptive statistics. Analysis of Variance, Correlation Coefficient and Multiple Regression Analysis for testing hypothesis. The results of hypothesis testing showed that there were two independent variables; selfefficacy, ability to refuse to avoid smoking in self related factors affect the positive on attitude toward smoking avoidance among never smoked adolescents with a statistical significance level of .05. Study results then could be a guideline for people who are involved in developing strategies to the smoking prevention among adolescent such as apply to this result to develop positive refusal program for adolescent to prevent them from smoking and strengthen of the self-efficacy.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineคณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.degree.nameการจัดการมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59920315.pdf3.4 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น