กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9619
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเบญญาดา กระจ่างแจ้ง
dc.contributor.authorจิราวรรณ ไชยพจน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T06:47:39Z
dc.date.available2023-09-18T06:47:39Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9619
dc.descriptionงานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการห่วงโซ่อุปทานและประสิทธิภาพ ในการปลูกปาล์มน้ำมัน มีอิทธิพลต่อความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน ในภาคตะวันออกเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือในการศึกษา ใช้แบบสอบถามกลุ่มตัวอย่าง คือ ตัวแทนสมาชิกวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน ในภาคตะวันออก จำนวน 380 คน สถิติในการศึกษาคือ ค่าความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอนด้วยโปรแกรม SPSS for Windows ผลการศึกษา พบว่า 1) การจัดการห่วงโซ่อุปทาน ภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน อันดับแรกได้แก่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน รองลงมา ด้านแรงงาน ด้านวัตถุดิบ ด้านบริหารจัดการ ด้านเทคโนโลยีและด้านเงินทุน 2) ประสิทธิภาพในการปลูกปาล์มน้ำมัน ภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน อันดับแรกได้แก่ ด้านปริมาณ รองลงมา ด้านคุณภาพ ด้านเวลาและด้านค่าใช้จ่าย 3) ความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชน ภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน อันดับแรก ด้านการบริหารในการสร้างภาคีเครือข่ายของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน รองลงมา ด้านการรวมตัวกันของเกษตรกรในการประกอบธุรกิจ ระดับชุมชน ด้านการส่งเสริมความรู้ความสามารถ ด้านระบบเศรษฐกิจ ชุมชนมีความเข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้และด้านการตลาด ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า การจัดการห่วงโซ่อุปทานและประสิทธิภาพในการปลูกปาล์มน้ำมัน มีอิทธิพลต่อความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกปาล์มน้ำมันในภาคตะวันออกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตัวแปรที่มีอิทธิพลมากที่สุด คือ ประสิทธิภาพในการปลูกปาล์มน้ำมัน (Beta = .357) รองลงมาคือการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Beta = .354) โดยตัวแปรทั้งสองสามารถทำนายได้ร้อยละ 15.70 (R square = 0.157)
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectปาล์มน้ำมัน -- การปลูก
dc.subjectวิสาหกิจชุมชน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
dc.titleการจัดการห่วงโซ่อุปทานประสิทธิภาพในการปลูกปาล์มน้ำมันมีอิทธิพลต่อความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกปาล์มน้ำมันในภาคตะวันออก
dc.title.alternativeSupply chin mngement efficiency in Oil Plm plntion influencing the strength of Oil Plm enterprises in The Estern Region
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to study supply chain management and the efficiency of oil palm plantation which influenced the strength of oil palm plantation enterprises in the eastern region of Thailand. The study was quantitative research. The tool used in the study was a questionnaire. The sample consisted of 380 representatives of the members of the oil palm plantation community in the Eastern Region. The statistics in the study were frequency, percentage, mean, standard deviation and Multiple Linear Regression Analysis. The data were analyzed with SPSS for Windows. The results of each factor revealed that: 1) the overall supply chain management was at a very high level. When each aspect was considered, the factors were in the following order. First was the infrastructure which was followed by labor, raw materials, management, and technology. The last one was finance. 2) The overall oil palm plantation efficiency was at a very high level. When each aspect was put in order, the first efficiency was quantity which was followed by quality, time and expense. 3) The overall strength of the oil palm enterprises in the eastern region was at a very high level. When each of the top management aspects was considered, the first aspect was establishing a network of community enterprises which was followed by the integration of farmers in the community, the promotion of knowledge on the ability of the community, and the strength of self-reliant economic system, and the marketing was the last aspect. From the hypothesis test, it was found that supply chain management and oil palm efficiency had influence on the strength of oil palm enterprises in the eastern region at the .05 statistical significance level. The most influential variable was the efficiency of oil palm plantation (Beta = .357). The second rank was the efficiency of supply chain management (Beta = .357)
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการสาธารณะ
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59710056.pdf2.14 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น