กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/943
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธนิดา ตระกูลสุจริตโชค
dc.contributor.authorปริยา นุพาสันต์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:54:53Z
dc.date.available2019-03-25T08:54:53Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/943
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะลดปัญหาการเกาะตัวกันและปรับปรุงสมบัติการกระจายตัวของอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์ในพอลิเมอร์เมทริกซ์ โดยการกราฟต์เมทิล เมทาไครเลต บนผิวหน้าของนาโนซิงค์ออกไซด์ด้วยเทคนิคพอลิเมอไรเซซันแบบแรดิคัล ขั้นตอนแรกเตรียมพันธะคู่บนผิวนาโน-ซิงค์ออกไซด์ โดยการทำปฏิกิริยากับสารควบคู่ (y-methacryloxypropyl trimethoxysilane) หลังจากนั้นกราฟต์ด้วยเมทิล เมทาไครเลตมอนอเมอร์ โดยเทคนิคพอลิเมอไรเซชันแบบอิมัลชันนาโนคอมโพสิตที่เตรียมได้ถูกวิเคราะห์ด้วยเทคนิค FT-IR, TEM, XRD, TGA และการทดสอบประสิทธิภาพการต้านเชื้อแบคทีเรีย พบว่าสามารถกราฟต์อนุภาคคอมโพสิตด้วยพอลิ (เมทิลเมทาไครเลต) ผ่านพันธะของสารคู่ควบ ซึ่งยืนยันได้ด้วยเทคนิค FT-IR จากการศึกษาด้วยเทคนิค TEM และทดสอบการตกตะกอนพบว่าอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์ที่ดัดแปลงผิวหน้าเกิดการเกาะตัวของอนุภาคในเมทริกซ์พอลิเมอร์น้อยลง สมบัติการกระจายตัวของอนุภาคในตัวทำละลายดีขึ้นผลจาก TGA เทอร์โมแกรมพบว่านาโนคอมโพสิตมีเสถียรภาพทางความร้อนดีกว่าพอลิ (เมทิลเมทาไครเลต) โฮโมพอลิเมอร์ และนาโนคอมโพสิตแสดงสมบัติการต้านเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli ที่ดีth_TH
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนโครงการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectนาโนคอมพอสิตth_TH
dc.subjectโพลิเมอร์th_TH
dc.subjectสารต้านการติดเชื้อth_TH
dc.subjectสารต้านจุลชีพth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleพอลิเมอร์นาโนคอมโพสิตลาเทกซ์ : สมบัติต้านการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์และสมบัติทางเคมีกายภาพth_TH
dc.title.alternativePolymer nanocomposite latex : antimicrobial and physicochemical propertiesen
dc.typeResearch
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeIn order to reduce agglomeration annd improve their dispersibility of nano-ZnO in polymer matrix, grafting polymerization of PMMA on nano-ZnO was successfully prepared by rdical polymerization. Firstly, the functional double bonds were introduced onto the surface of nano-ZnO by treating the particles with y-methacryloxypropyl trimethoxysilane. Secondly, grafted nano-ZnO was used to prepare nanocomposities by emulsion polymerization technique with MMA monomer. The obtained nanocomposites were analyzed by FT-IR, TEM, XRD, TGA and antibacterial test. The results from FT-IR indicated that composite particles had been successfully grafted with PMMA through the bonding of coupling agent. It was found from TEM micrographs and sedimentation test that the surface modification of nano-ZnO could decrease agglomerated particles in polymer matrix and improve dispersibility of particles in solvents. TGA thermograms revealed enhanced thermal stability of nanocomposites. The nanocomposites containing grafted ZnO nanoparticles showed excellent antobacterial activity towards the bacterial species Encherichia coli.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น