กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/941
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจิตติมา เจริญพานิช
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:54:53Z
dc.date.available2019-03-25T08:54:53Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/941
dc.description.abstractการใช้สารพิษอะคริไมด์ที่มีแนวโน้มเป็นสารก่อมะเร็งในคนอย่างกว้างขวางส่งผลให้พบการปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม แต่ในความเป็นพิษของอะคริลาไมด์ยังมีจุลินทรีย์บางชนิดสามารถใช้พลังงานจากอะคริลาไมด์ในการเจริญได้ โดยเกิดการสลายอะคริลาไมด์เป็นแอมโมเนียและกรดอะคริลิก จากการทำงานของเอนไซม์อะมิเดส (EC 3.5.1.4) ด้วยปฏิกิริยาดีอะมิเนชั่น ในการศึกษาก่อนหน้ามีการใช้เทคนิคพีซีอาร์หาลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีนที่กำหนดการสรางเอนไซม์อะมิเดสใน Enterobacter aerogenes ซึ่งเป็นแบคทีเรียสลายอะคริลาไมด์ชนิดใหม่สำหรับในโครงการวิจัยนี้ได้นำเทคนิคพีซีอาร์มาใช้ในการเพิ่มปริมาณชิ้นยีนที่กำหนดการสร้างเอนไซม์อะมิเดสจาก E.aerogenes และโคลนเข้าสู่ดีเอ็นเอพาหะเอื้อการแสดงออก pColdl ลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีนอะมิเดสที่โคลนได้มีชนาด 726 คู่เบส ที่สามารถคาดเดาเป็นกรดอะมิโนจำนวน 242 ตัว ริคอมบิแนนท์อะมิเดสที่โคลนได้มีการแสดงออกขนาด 28 กิโลดาลตันในเซลล์ให้อาศัย Escherichia coli DH5 แต่มีการแสดงออกที่มากเกินไปจนจับกันเป็นก้อนตกตะกอนภายในเซลล์ในรูปของอินคลูชั่นบอดี้ โดยความเข้มข้นของ IPTG การเติมกลูโคส แลคโตสและกลีเซอรอล และการสแดงออกที่อุณหภูมิต่ำไม่สามารถลดการแสดงออกของริคอมบิแนนท์อะมิเดสในรูปของอินคลูชั่นบอดี้ในเซลล์ได้ทั้งหมดth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย จากงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2555
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectกรดอะคริลิกth_TH
dc.subjectการโคลนยีนth_TH
dc.subjectสารอะคริลาไมด์th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleการผลิตปริมาณสูงและการตรึงเอนไซม์อะลิฟาติกอะมิเดส สำหรับประยุกต์ใช้ในกระบวนการสลายอะคริลาไมด์และอุตสาหกรรมการผลิตกรดอะคริลิก.th_TH
dc.title.alternativeHigh-level production and immobilization of an aliphatic amidase for application i acrylamide degradation and industrial production of acrylic acid.en
dc.typeResearch
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeA widespread use and indiscriminate discharge of acrylamide, a neurotoxicant and probably human carcinogen has led to their presence in environment. In spite of its general toxicity, some mocroorganisms can derive energy from acrylamide for growth. In its catabolism, acrylamide is deaminated to ammonia and acrylic acid, a process catalyzed by amidase (EC 3.5.1.4). In our previous study, a gene encoding amidase from Enterobacter aerogenes, a novel acrylamide-degrading bacterium has been identified by PCR techniques. In this study, the amidase gene of E. aerogenes was PCR-amplified and successfully cloned into the pcoldl expression vector. The open reading frame of the gene consisted of 726 nucleotides (242 deduced amino acids) were obtained. Expression of the amidase with a Mr of 28 kDa in Escherichia coli DH5 resulted in only insoluble particles (inclusion bodies). IPTG and the additions of glucose, lactose and glycerol and expression under low temperature could not completely inhibit insoluble expressionen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น