กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9156
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorกัญจนวลัย นนทแก้ว แฟร์รี่
dc.contributor.authorธารปาง ต.วิเชียร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.date.accessioned2023-06-06T09:02:19Z
dc.date.available2023-06-06T09:02:19Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9156
dc.descriptionงานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความผูกพันต่อโรงเรียนและเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างงานที่มีความหมายกับความผูกพันต่อโรงเรียน บุคลากรโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง กลุ่มตัวอย่างเป็นครูโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง จำนวน 140 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามมาตรประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีแบบตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent samples t test) การทดสอบค่าเอฟ (F-Test) และวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยการหาค่าสัมประสิทธ์ (Simple correlation coefficient) ของเพียรสัน (Pearson product moment correlation coefficient) ผลการวิจัยพบว่า ครูโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดระยองมีการรับรู้คุณค่าในการทำงานโดยรวมและรายด้านในระดับมากที่สุดโดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านความหมายทางบวกของงาน ด้านแรงจูงใจที่ดีในการทำงานและด้านการสร้างความหมายผ่านการทำงานครูโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดระยองมีความผูกพันในองค์การโดยรวมและรายด้านในระดับมากที่สุดโดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านความผูกพันต่อองค์การด้านบรรทัดฐาน ความผูกพันต่อองค์การด้านความรู้สึกและความผูกพันต่อองค์การด้านความต่อเนื่องเมื่อการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์การของครูโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา ที่แตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์การที่แตกต่างกันรวมทั้ง พบว่า งานที่มีความหมายสัมพันธ์เชิงบวกความผูกพันต่อองค์กรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์
dc.subjectครู
dc.subjectโรงเรียนเอกชน -- ระยอง
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างงานที่มีความหมายต่อความผูกพันขององค์การของครูโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง
dc.title.alternativeThe reltionship between meningful work nd orgniztion commitment mong privte school techers in ryong province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the level of school attachment and to study the relationship between meaningful work and school attachment and personnel in a private school in Rayong Province. The sample consisted of 140 private school teachers in Rayong Province by using a stratified sampling method. The research instruments were 5 rating scale questionnaires. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, Independent samples t test, F-Test, Simple correlation coefficient, andPearson product moment correlation coefficient. The results of the research showed that a teacher of a private school in Rayong province perceived value of work overall and in each aspect at the highest level in descending order of average from highest to lowest, namely positive meaning in the job, good motivation at work and meaning in working. A teacher of a private school in Rayong province has an attachment to the organization as a whole and in each area at the highest level in descending order of average from highest to lowest, namely the attachment to the organization in the norm, the attachment to the organization in the feeling, and the attachment to the organization in the continuation. When comparing the opinions about the organizational attachment of teachers in a private school in Rayong Province classified by personal factors, it was found that people with different gender, age, and educational level have different opinions about organizational attachment. Moreover, it was found that positive meanings in the job have a significant attachment to the organization.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการทรัพยากรมนุษย์
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
61920162.pdf2.56 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น