กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8551
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorปิติวรรธน์ สมไทย
dc.contributor.advisorภานุ สรวยสุวรรณ
dc.contributor.authorณัฐนรี เตียวเจริญกิจ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T03:54:03Z
dc.date.available2023-06-06T03:54:03Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8551
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractมนุษย์ให้ความสำคัญกับวัตถุเป็นอย่างมากวัตถุและเครื่องอำนวยความสะดวกต่าง ๆ นับวันยิ่งส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมมนุษย์มากขึ้น มุ่งหาความสุขใส่ตนรักความสบายให้ความสำคัญกับวัตถุมากกว่าจิตใจ ยิ่งมีมากเท่าใด ยิ่งเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงฐานะทางสังคมได้ เกิดความต้องการไม่มีที่สิ้นสุด จึงเกิดเป็นพฤติกรรมที่เคยชินจนลืมความต้องการที่แท้จริง พฤติกรรมนี้แสดงออกมาทางบุคลิกภาพ ลักษณะ ท่าทางในการสื่อสาร ทำให้เกิดเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ศิลปกรรม : กระแสวัตถุนิยมกับการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมในสังคม การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการนำเสนอแนวคิดในภาพศิลปะการจัดวาง (Installation art) ระหว่างชีวิตและวัตถุ สะท้อนค่านิยมโดยใช้การแทนค่าการสร้างรูปทรงโดยนำรูปทรงสิ่งของวัตถุ เครื่องประดับที่ใช้ในชีวิตประจำวันมาดำเนินการโดยใช้วัสดุจากเส้นลวดมาดัดแปลงให้เกิดรูปทรงเลียนแบบวัตถุและแต่งเติมด้วยสัญลักษณ์ที่มนุษย์ให้ความนิยมแสดงถึงกระแสวัตถุนิยม จากการที่ได้เรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์พบว่า มนุษย์มีความลุ่มหลงกับวัตถุนิยมจนเกินความจำเป็นยึดวัตถุว่าเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในชีวิต ถ้าวัตถุเข้ามามีบทบาทในชีวิตมากจนเกินไป โดยไม่มีสิ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจก็จะทำให้ถูกพัดพาไปตามกระแสนิยม เมื่อรู้ตัวอีกทีก็อาจตกเป็นทาสของวัตถุอย่างถอนตัวไม่ขึ้น ดังนั้น เราจึงควรมีสติเข้าใจถึงสังคมที่เปลี่ยนไป รู้จักตนเองรู้จักพอประมาณและรู้จักพอเพียง
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.subjectสังคมไทย
dc.subjectศิลปกรรม
dc.titleการสร้างสรรค์ศิลปกรรม : กระแสวัตถุนิยมกับการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมในสังคมไทย
dc.title.alternativeArt inventions : effects of mterilism on behvior chnges in thi society
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativePeople have been obsessively focused on materials and objects. Machines and technologieshas played important role in all aspects of everyday life. Materialism has slowly impacted human behaviors. People rely heavily on technology and become more lazy without realizing it. Furthermore, personal happiness has become the main focus in life more valuable than a good conscience. The more you have, will dictate your status in the society. Materialism is physical matter to indicate a particular social position of people. The greed has created new norms which directly reflect on our behaviors. They vividly display through how we think, act, and communicate. These norms have shaped today’s society as well as influence the creation of arts. The purpose of this research is to present the impacts of materialism to human behaviors through a concept called “Installation Art”, an artistic work that designed to transform the perception of life and objects. An ordinary material like steel wires are used to create this focal piece. Different techniques have been applied to construct and imitate shapes of common objects that are used in everyday life then distinctive details have been added to magnify and emphasize the effects of materialism. Studies of human behavior reveal that people are overly attached to objects and appearances more than anything in life. If we let this trend takes over our lives without doing anything to hold our minds and souls together, we will become slaves to object and materialism. Therefore, we should be mindful and understand the social change, be aware and learn to be enough and graceful of what we have
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
56920640.pdf2.14 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น