กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8544
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorบุญชู บุญลิขิตศิริ
dc.contributor.advisorบุญเดิม พันรอบ
dc.contributor.authorญาณวดี ขำพิจิตร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T03:53:52Z
dc.date.available2023-06-06T03:53:52Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8544
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของการแสดงลําตัด สภาพ ปัญหาของการแสดงลําตัดในปัจจุบัน และแนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาการแสดงลําตัดตามความคิดเห็นของกลุ่มผู้ให้ข้อมูล กลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่ใช้ในงานวิจัยรวมจํานวน 14 คน ได้แก่ หัวหน้าคณะและนักแสดงลําตัด ดังนี้คณะลําตัดมหาบัณฑิตไฉนลูกเมืองมีน คณะ ส. บงกชอยุธยาคณะจรัญบ่อตะโล่และคณะชาญชัยศิษย์หวังเต๊ะโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึกเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและนําเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่าการแสดงลําตัดแรกเริ่มเป็นการสวดสรรเสริญพระเจ้าของศาสนา อิสลาม ด้วยภาษามลายูโดยสวดเข้ากับจังหวะรํามะนามีผู้เล่นเป็นเพศชายทั้งหมดเริ่มเป็นที่รู้จัก ตั้งแต่รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์นักแสดงลําตัดส่วนใหญ่ฝึกหัดลําตัดมาจากครูเพลงลําตัด ระดับการศึกษาของนักแสดงลําตัดมีหลากหลายส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระยะเวลาที่ใช้ในการแสดงลําตัดในปัจจุบันถูกแบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้ (1) ระยะเวลามาตรฐาน คือ 3-4 ชั่วโมง (2) ระยะเวลาตามการตกลงระหว่างผู้ว่าจ้างและทางคณะในหนึ่งคณะมีจํานวนนักแสดง ลําตัด 6-8 คน และนักดนตรี 4คน สภาพปัญหาของการแสดงลําตัดในปัจจุบันประสบปัญหา นักแสดงลําตัดมีน้อยเพราะส่วนใหญ่นั้นไม่มีผู้สืบทอดการแสดงและนักแสดงลําตัดเสียชีวิตไปตามกาลเวลาช่องทางในการติดต่อคือทางโทรศัพท์และไม่มีหน่วยงานอื่น ๆ ช่วยเหลือในด้านการประชาสัมพันธ์การอนุรักษ์การแสดงลําตัดยังคงการอนุรักษ์การแสดงลําตัดเป็นแบบดั้งเดิม คือ (1) ทํานองวิธีการร้องและมีลําดับขั้นตอนการแสดง (2) เครื่องดนตรี จํานวน 4 ชนิด คือ รํามะนา ฉิ่ง ฉาบ และกรับ และมีการอนุรักษ์แบบประยุกต์ คือ การเปลี่ยนแปลงเนื้อหาให้สอดคล้องกับสังคม ปัจจุบันหรือปรับเนื้อร้องและทํานองให้เข้ากับผู้ชมการพัฒนาการแสดงลําตัดมีการพัฒนาเนื้อหา การแสดงให้เหมาะสมกับสภาพสังคมปัจจุบันมีการพัฒนาเครื่องแต่งการให้มีสีสันสดใสใช้ผ้าปัก ดิ้นทองปักเลื่อมเพื่อทําให้เกิดความสวยมากขึ้นและมีการพัฒนาแหล่งเผยแพร่ข้อมูลโฆษณา ประชาสัมพันธ์การแสดงลําตัดโดยการใช้สื่อสังคมออนไลน์
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectลำตัด
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารศิลปะและวัฒนธรรม
dc.titleการอนุรักษ์และพัฒนาการแสดงลำตัด
dc.title.alternativeThe conservtion nd development of the lm td performnce
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe conservationanddevelopmentof the Lam Tadperformance were tostudy(1) The historyof the Lam Tadperformance (2) The currentproblems (3) The conservationand development from the commentsof informants. The14person were Thai wisdom Lam Tad master andperformers from Chanai Look Muangmeen Group,Sor Bongkoch Ayutthaya Group, Charan Botalo Groupand ChanchaiSid Wangtae Group. The researchtool was in-depthinterview withdescriptive analysis. The research results were foundthat the historyandoriginalof Lam Tadperformance was Islamic Godanthem in Malayculture. The performers were all men. The Lam Tad performance was well-knowninthe reignof King Rama V of Rattanakosin Era. Mostperformers were taught andtrainedby Thai wisdom Lam Tadteacher andhadeducation with manylevels. The most education wasprimarylevel. The Lam Tadperformance duration was twotypes. The first type was standardduration(3-4hours). The secondtype wasdependedonthe agreement. The numbersof performer were6-8performers and4 musicians. The problem wasnosuccessors for the performance andonlyoldperformers stillperform innowadays including problem in public relations. The conservation were about (1) The classicalperformance (2) The conservation musicianinstruments. The developments were about Lam Tadperformance for modernsociety appropriation andthe color developmentof Lam Tadcostume. Nowadays theydevelopedthe sourcesof public relationbysocial media.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารศิลปะและวัฒนธรรม
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
56920656.pdf21.32 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น