กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/844
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวรวิทย์ ชีวาพรth
dc.contributor.authorวิภูษิต มัณฑะจิตรth
dc.contributor.authorสมถวิล จริตควรth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:54:46Z
dc.date.available2019-03-25T08:54:46Z
dc.date.issued2534
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/844
dc.description.abstractได้ทำการศึกษาชนิดและปริมาณของแพลงค์ตอนพืชและสัตว์ รวมทั้งผลการเลี้ยงกุ้งกุลาดำจากบ่อดินขนาด 3.8 ไร่ ระยะเวลาระหว่างวันที่ 4 มกราคม 2534 ถึง 12 พฤษภาคม 2534 ปรากฏว่า สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน และไดอะตอม เป็นแพลงค์ตอนพืชที่มีมาก ส่วน Copepod และ ตัวอ่อนของกุ้งและเพรียง เป็นแพลงค์ตอนสัตว์กลุ่มที่พบเด่นในบ่อเลี้ยงกุ้ง การเลี้ยงกุ้ง ปล่อยหนาแน่น 50ตัว/ตารางเมตร เมื่อสิ้นสุดการเลี้ยงได้กุ้งขนาด 25 กร้ม ปริมาณ 1,368 กิโลกรัม/ไร่ กุ้งมีอัตราการรอดตาย 62.4% และมีอัตราการแลกเนื้อ 1.474 ผลการเลี้ยงอยู่ในระดับที่ดี การวิเคราะห์ผลทางสถิติ ชี้ให้เห็นว่า แพลงค์ตอนพืชไม่แสดงอิทธิพลโดยตรงต่อผลผลิตของกุ้งที่ได้ แต่แพลงค์ตอนสัตว์มีความสัมพันธ์แบบผกผันกับการเพิ่มน้ำหนักกุ้ง ในการเพิ่มประสิทธิภาพของการเลี้ยงจึงควรจะมีการควบคุมปริมาณของแพลงค์ตอนสัตว์ Monitoring study on phytoplankton and zooplankton communities and production of Giant tiger prawn, were carried out during 4 January to 12 May 1991. The poun was 3.8 rai (6,080 square meter) in area with intensive management. Results showed that blue-green alge and diatom are the major compontent of phytoplankton while copepod and decapod larva are of zooplankton. Stocking density of the study was 50 prawns/square meter. After rearing periods, the final size of prawn was 25 grams with yield 1,368 kg./Rai Survival rate and Food Conversion Ratio were 62.4% and 1.474 respectively. The result indicated that rearing is success. From statistical analysis, the results indicated that phytoplankton do not show significant relationship with growth of shrimp. But zooplankton show significant negative relationship. To improve efficiency of rearing, desity of zooplankton should be considered.th_TH
dc.description.sponsorshipทุนภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา พฤศจิกายน 2534en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectกุ้งกุลาดำ -- การเจริญเติบโตth_TH
dc.subjectกุ้งกุลาดำ -- การเลี้ยงth_TH
dc.subjectกุ้งกุลาดำ -- วิจัยth_TH
dc.subjectบ่อเลี้ยงกุ้งth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleปัจจัยทางนิเวศวิทยาที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของกุ้งกุลาดำ, Penaeus monodon Fabricius (ปัจจัยทางชีวภาพ)th_TH
dc.title.alternativeSome Ecological Factors Effect on the Growth of Giant Tiger Prawn, Penaeus monodon Fabricius (Biological Factors)en
dc.typeงานวิจัย
dc.year2534
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น