กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7914
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorปริญญา ทองสอน
dc.contributor.advisorตฤณ กิตติการอำพล
dc.contributor.authorเชาวลิต อัครปัญญาวิทย์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T06:14:51Z
dc.date.available2023-05-12T06:14:51Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7914
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถ ในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่อง ประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที 3 โรงเรียนชลกันยานุกูล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 98 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสอนแบบปกติ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแบบวัดเจตคติ สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการ ทางประวัติศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่านักเรียนที่เรียนด้วยการสอนแบบปกติ อย่างไม่มีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนที่เรียนด้วย การจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 66.13 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4) ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยสูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 5) เจตคติของนักเรียน ต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ โดยรวมอยู่ในระดับดี
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectประวัติศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศีกษา)
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเรื่อง ประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
dc.title.alternativeThe development of lerning chievement nd criticl thinking bility on rttnkosin period history of mthyomsuks 3 students using historicl method
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to develop the learning achievement and critical thinking ability on Rattanakosin period history of Mathayomsuksa 3 students using historical method. The sample of this research consisted of 98 students studying Mathayomsuksa 3 at Chonkanyanukoon School in semester 1 during the academic year 2018. The research instruments for gathering data were the lesson plans using historical method, the lesson plans using lecture method, an achievement test on history subject, the test of critical thinking ability, and a questionnaire on the attitude of students using historical method learning. The collected data was analyzed by percentage, Mean, Standard Deviation, and t-test dependent. The research findings of study were 1) students’ learning achievements on history subject measured after using historical method were higher than their learning performance measured before using historical method at the level of 0.1 significance. 2) Students’ learning achievements of on learning by using historical method were lower than using the one after using lecture method at the level of 0.5 significance. 3) Students who use historical method had critical thinking ability score at 66.13 percentage that was lower than 70 percentage at the level of 0.1 significance. 4) Students’ critical thinking ability of learning toward using historical method was higher than lecture method at the level of 0.1 significance. 5) Students’ attitude using historical method and learning was found at a good level.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอน
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.99 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น