กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7678
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorพงศ์เทพ จิระโร
dc.contributor.advisorธนวิน ทองแพง
dc.contributor.authorวริศรา อรุณกิตติพร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:19:11Z
dc.date.available2023-05-12T04:19:11Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7678
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วยครูในโรงเรียนประถมศึกษา และขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด จำนวน 288 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น โดยใช้ประเภทของสถานศึกษาเป็นเกณฑ์แล้วทำการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีจำนวนเป็น 2 ตอน โดยแบบสอบถามตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .22-.71 ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลของ สถานศึกษา มีค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .20-.69 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .95 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสถิติที่ใช้ได้แก่ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s product-moment coefficient analysis) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาตราด โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 3. ปัจจัยการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราดโดยรวมมีความสัมพันธ์กันทางบวก อยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01   4. สมการพยากรณ์ประสิทธิผลของสถานศึกษาสามารถพยากรณ์ประสิทธิผล ได้ร้อยละ 51.30 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.01 และสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบและรูปคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ Y ̂ = 1.07 + .31 (X4) + .13 (X2) + .17 (X1) + .12 (X3) Z ̂ = .35(X4) + .15 (X2) + .19 (X1) + .14 (X3)
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษา -- การบริหาร
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา
dc.titleปัจจัยการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด
dc.title.alternativeAdministrtive fctor of school dministrtors ffecting school effectiveness under the office of trt primry eduction service re
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study administrative factor of school administrators that affect school effectiveness of schools under the Office of Trat Primary Education Service Area. The sample consisted of 288 teachers in elementary schools And expand educational opportunities, selected by the stratified random sampling technique, using type of institution as a criterion. The instrument used to collect the data was a 5-level scale questionnaire. The questionnaire was divided into 2 parts. The first part was on the administrative factors of school administrators, with the discriminative power between .22 and .71. The second part was on the effectiveness of educational institutions, with the discriminative power between .20-.69 and the reliability of the questionnaire was .95. The data were analyzed using mean ( ), standard deviation (SD), Pearson's product-moment coefficient analysis, and stepwise multiple regression analysis The findings were as follows: 1. The administrative factors of school administrators under the Office of Trat Primary Educational Service Area in overall and individual aspects were at a high level. 2. The schools effectiveness of schools under the Office of Trat Primary Educational Service Area in overall and individual aspects were at a high level. 3. Administrative factors of school administrators and the school effectiveness has high positive correlation, at the .01 level of significance 4. The predicting equation of the school effectiveness can predict up to 51.30 percent at significant level of .01   The equation of raw score is Y ̂ = 1.07 + .31 (X4) + .13 (X2) + .17 (X1) + .12 (X3) The equation of standard score is Z ̂ = .35(X4) + .15 (X2) + .19 (X1) + .14 (X3)
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameกศ.ม.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf968.33 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น