กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7641
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุทธาภา โชติประดิษฐ์
dc.contributor.advisorปริญญา ทองสอน
dc.contributor.authorสุวัฒนา มั่นภาวนา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:16:54Z
dc.date.available2023-05-12T04:16:54Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7641
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านวรรณคดีไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนเรียนและหลังเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนด้วย เทคนิคแผนผังความคิด และศึกษาเจตคติของนักเรียนหลังจากที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคแผนผังความคิด กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา ตำบลสุรศักดิ์ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ปีการศึกษา 2560 1 ห้องเรียน จำนวน 50 คน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนการสอน 10 แผน แบบทดสอบวัดความเข้าใจในการอ่านวรรณคดีไทยด้วยเทคนิคแผนผังความคิดก่อนเรียนและหลังเรียน และแบบวัดเจตคติต่อการเรียนภาษาไทย วิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบค่าที (t-test dependent sample) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านวรรณคดีไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคแผนผังความคิด หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. เจตคติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคแผนผังความคิด อยู่ในระดับเจตคติระดับดี
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการอ่านขั้นมัธยมศึกษา
dc.subjectการอ่าน -- กิจกรรมการเรียนการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subjectการอ่าน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
dc.titleความเข้าใจในการอ่านวรรณคดีไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคแผนผังความคิด
dc.title.alternativeComprehensive bility of mthyomsuks 3 students in thi literture using mind mpping technique
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to compare the comprehensive reading skill after learning classic Thai literature with a mind mapping technique of matthayomsuksa 3 students, and also to study the student's attitudes towards studying reading classic Thai literature with a mind mapping technique. The sample was a class of 50 students from matthayomsuksa 3 in academic year of 2017, at Assumption College, Surasak, Sriracha, Chonburi, selected by cluster random sampling. The research instruments consisted of 10 lesson plans, a pretest and a posttest of reading classic Thai literature with a mind mapping technique, and attitude test towards learning the classic Thai literature with a mind mapping technique. The data were analyzed by mean, standard deviation and t-test dependent sample. The research findings were as follows; 1. The posttest scores of mathayomsuksa 3 student after learning with Thai literature comprehensive reading using mind mapping technique, was higher than the Pre-test results at the significance level of .01. 2. The attitude of the mathayomsuksa 3 student towards the teaching using mind mapping technique was at “good” level.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอน
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.59 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น