กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7532
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสมบูรณ์ เจตน์จำลอง
dc.contributor.authorนันทวรรณ ระหงษ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:02:45Z
dc.date.available2023-05-12T04:02:45Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7532
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีในการปฏิเสธในการสื่อสารภาษาอังกฤษในที่ทำงานในวัจนกรรมการขอร้องการเชิญ การเสนอให้และการแนะนำมุ่งเน้นศึกษาตัวแปรด้านสถานภาพตำแหน่งงานในที่ทำงานประกอบไปด้วยสถานภาพตำ แหน่งงานสูงกว่าเท่ากัน และต่ำกว่ากลุ่มตัวอย่างมีทั้งสิ้น 30 คน ประกอบด้วยชาวพม่าที่ทำงานและอาศัยอยู่ในสาธารณรัฐแห่ง สหภาพเมียนมาจำนวน 15 คน และชาวอเมริกันที่ทำงานและอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกาจำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยคือ Discourse Completion Test (DCT) ปรับปรุงจากเครื่องมือในงานวิจัยของ Beebe, Takahashi and Uliss-Weltz (1990) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1. กลวิธีที่กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาและกลุ่มตัวอย่างชาวอเมริกันใช้ในการตอบปฏิเสธมากที่สุด คือ กลวิธีการปฏิเสธแบบอ้อม และกลวิธีย่อยแบบอ้อมที่กลุ่มตัวอย่างใช้มากที่สุด 3 อันดับแรก คือ กลวิธีการตอบปฏิเสธโดยอธิบายถึงเหตุผล กลวิธีการตอบปฏิเสธโดยแสดงความรู้สึกซาบซึ้งในคำพูดของคู่สนทนาและกลวิธีในการตอบปฏิเสธโดยแสดงความเสียใจ 2. เมื่อพิจารณาตัวแปรด้านวัจนกรรม พบว่า กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาใช้กลวธีในการตอบปฏิเสธแบบอ้อมมากว่ากลุ่มตัวอย่างชาวอเมริกันทุกวัจนกรรม ส่วนกลุ่มตัวอย่างชาวอเมริกันใช้กลวิธีการปฏิเสธแบบตรงมากกว่ากลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาในทุกวัจนกรรม 3. เมื่อพิจารณาตัวแปรด้านสถานภาพตำแหน่งงาน พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ชาวอเมริกันใช้กลวิธีในการตอบปฏิเสธแบบตรงมากกว่ากลุ่มตัวอย่างชาวพม่าในทุกสถานภาพตำแหน่งงาน ส่วน กลุ่มตัวอย่างชาวเมียนมาใช้กลวิธีการปฏิเสธแบบอ้อมมากกว่ากลุ่มตัวอย่างชาวอเมริกันในทุกสถานภาพตำแหน่งงาน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการสนทนา
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การสื่อสาร
dc.subjectชาวอเมริกัน -- การสื่อสาร
dc.subjectการสื่อทางภาษาพูด
dc.subjectชาวพม่า -- การสื่อสาร
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การใช้ภาษา
dc.titleกลวิธีการตอบปฏิเสธในการสื่อสารภาษาอังกฤษในที่ทำงานของพนักงานชาวเมียนมาและชาวอเมริกัน
dc.title.alternativeRefusl strtegies in english communiction used by Burmese nd Americn office workersin the workplce
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe present study investigated the refusal strategies in English used by Burmese and Americans in their workplaces in the refusal to request, invitation, offer and suggestion. This study also emphasized on workingstatuses including higher, equal and lower statuses. The 30 participants of this study were15 Burmese working and living in the Republic of the Union of Myanmar and 15 Americans working and living in the United States of America. The instrument in this research was a modified Discourse Completion Test (DCT) version adapted from the DCT constructed by Beebe, Takahashi and Uliss-Weltz (1990). The data were analyzed by using descriptive statistics. The results were as follows: 1. The indirect refusal strategies were most frequently used by the Burmese and Americansparticipants. The top three indirect strategies used by both groups were giving reason or explanation, gratitude and statement regret. 2. Considering the speech act of request, invitation, offer and suggestion, the Americansparticipants used the direct refusal strategies more than the Burmese did in all speech acts. Besides, the Burmeseparticipantsused the indirect refusal strategies more than the Americans did in all speech acts. 3. In view of their working statuses, the Americans participants used the direct refusal strategies more than the Burmese did in all working statuses. In addition, the Burmese participantsused the indirect refusal strategies more than the Americans did in all working statuses.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.18 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น