กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7492
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสมพงษ์ ปั้นหุ่น
dc.contributor.advisorสุเมธ งามกนก
dc.contributor.authorสลิลรัตน์ พลอยประดับ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:59:05Z
dc.date.available2023-05-12T03:59:05Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7492
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันศักยภาพทางการแข่งขันของโรงเรียนเอกชนระดับมัธยมศึกษาในเขตภาคตะวันออก 2) เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุรูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับเสริมสร้างศักยภาพทางการแข่งขันของโรงเรียนเอกชน ระดับมัธยมศึกษาในเขตภาคตะวันออก และ 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับ เสริมสร้างศักยภาพทางการแข่งขันของโรงเรียนเอกชนระดับมัธยมศึกษาในเขตภาคตะวันออก ขั้นตอนการวิจัยประกอบด้วย 1) ศึกษารูปแบบการบริหารโรงเรียนใช้วิธีการสัมภาษณ์ 2) พัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ โดยใช้แบบสอบถามครูผู้สอนโรงเรียนเอกชนและวิเคราะห์โมเดล สมการโครงสร้าง ด้วยโปรแกรม LISREL 3) สร้าง และประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ของรูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับเสริมสร้างศักยภาพทางการแข่งขันของโรงเรียนเอกชน ระดับมัธยมศึกษาในเขตภาคตะวันออก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วยโปรแกรม LISREL ผลการวิจัยพบว่า 1. ศักยภาพทางการแข่งขันของโรงเรียนเอกชนระดับมัธยมศึกษาในเขตภาคตะวันออก พบว่า โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุการพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัย ที่ทีอิทธิพลต่อการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับเสริมสร้างศักยภาพทางการแข่งขันของโรงเรียนเอกชน ระดับมัธยมศึกษาในเขตภาคตะวันออก มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมี Chi-square = 632.22,ค่า p =0.00, ค่า df =305, ค่า  2 /df= 2.07, ค่า NFI = 0.98, ค่า GFI = 0.95, ค่า AGFI= 0.90, ค่า RMSEA = 0.04, ค่า RMR = 0.01 ปัจจัยที่มีอิทธิพลรวมสูงสุดต่อศักยภาพทางการแข่งขัน ของโรงเรียน คือ ปัจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (CL) และปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงสูงสุด คือ ปัจจัยแรงจูงใจในงาน (MW)โมเดลที่พัฒนาแล้วมีอิทธิพลต่อศักยภาพทางการแข่งขันของโรงเรียนเอกชนระดับมัธยมศึกษาในเขตภาคตะวันออก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สามารถอธิบาย ความแปรปรวนของการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับเสริมสร้างศักยภาพทางการแข่งขันได้ร้อยละ 95 3. รูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับเสริมสร้างศักยภาพทางการแข่งขันของโรงเรียนเอกชนระดับมัธยมศึกษาในเขตภาคตะวันออก มี 4 กลยุทธ์ 8 องค์ประกอบ คือ กลยุทธ์ที่ 1 การนำองค์กร มี 2 องค์ประกอบ คือ 1) ภาวะผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง 2) การวางแผนยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์มี 2 องค์ประกอบ คือ 1) แรงจูงใจในงาน กลยุทธ์ที่ 3 การจัดการความรู้ มี 2 องค์ประกอบ คือ 1) องค์การแห่งการเรียนรู้กลยุทธ์ที่ 4 องค์กรคุณภาพ มี 2 องค์ประกอบ คือ 1) คุณภาพวิชาการ 2) โรงเรียนมาจรฐานสากล โดยภาพรวมของการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับเสริมสร้างศักยภาพทางการแข่งขันของโรงเรียนเอกชนระดับมัธยมศึกษาในเขตภาคตะวันออก มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectการวางแผนการศึกษา
dc.subjectการวางแผนเชิงกลยุทธ์ -- ญี่ปุ่น
dc.subjectโรงเรียนเอกชน -- การบริหาร
dc.titleรูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับเสริมสร้างศักยภาพทางการแข่งขันของโรงเรียนเอกชนระดับมัธยมศึกษาในเขตภาคตะวันออก
dc.title.alternativeStrtegic dministrtion model for enhncing potentils of secondry privte schools competition in Est Region
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were as follows: 1) to investigate the current state of competitive potentials among private secondary schools in the eastern region, 2) to develop a causal relationship model of a strategic management for enhancing the competitiveness of private secondary schools in the eastern region, and 3) to develop a strategic management model for enhancing the competitiveness of private secondary schools in the eastern region. The research process consisted of three steps: (1) studying the models of secondary school administration by interviewing five experienced administrators and experts in private schools administration, (2) developing a causal relationship model and strategic management model of private secondary school in the eastern region by collecting the data from 660 private school teachers who were sampled by multi-stage sampling, and the data was analyzed for congruency by using a statistical package, and (3) assessing suitability and feasibility of the strategic management model for enhancing competitive potentials of private secondary schools in the eastern region through individual self-assessment from opinion of 12 exports who were purposively selected. Statistics used in the data analyse were frequency, percentage, Mean, Standard Deviation, and correlation coefficient value. Confirmatory component analysis was done by using a statistical package. The results were as follows: 1. Competitive potentials of private secondary schools in the eastern region were found at a high level both in general and each aspect. 2. The development of causal relationship model in order to find factors influencing administration of competitive potentials of private secondary school in the eastern region showed that the model was consistent with the empirical data with Chi-square = 632.22, df =305, CMIN/DF = 2.07, NFI = 0.98, GFI = 0.95, RMSEA = 0.04, RMR = 0.01. All developed variables in the model statistically and significantly influenced potentials for competition of private secondary schools in the eastern region. The factors accounted for 95% of variances of strategic administration for enhancing competitive potentials. 3. The causal relationship model of a strategic management for enhancing the competitiveness of private secondary schools in the eastern region consisted of four strategies and eight components. Strategy 1 which was organization leadership had two components, namely leadership of change and strategic planning. Leadership of change consisted of four indicators and 34 operational methods. Strategic planning contained three indicators and 28 operational methods. Strategy 2 which was human resource management had two components: job motivation and organization culture. Job motivation consisted of four indicators and 44 operational methods. Organization culture had two indicators and 31 operational methods. Strategy 3 which was knowledge management was made up of two components: knowledge organization and organization identity. Knowledge organization had four indicators and 41 operational methods. Organization identity had two indicators and nine operational methods. Strategy 4 which was quality organization had two components which were academic quality and international standard school. Academic quality consisted of five indicators and 38 operational methods. International standard school had three indicators and 20 operational methods as well as improvement and development. Overall, the strategic administrations for enhancing competitive potentials of private secondary school in the eastern region were highly suitable and feasible.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.77 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น