กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7410
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorประชา อินัง
dc.contributor.advisorเพ็ญนภา กุลนภาดล
dc.contributor.authorสุพิน ใจแก้ว
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:55:19Z
dc.date.available2023-05-12T03:55:19Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7410
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของมิตรภาพระหว่างเพื่อนของนักเรียนวัยรุ่น 2) เพื่อศึกษาการปรึกษากลุ่มเชิงบูรณาการทฤษฎีและเทคนิค โดยมีทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมเป็นฐาน ต่อมิตรภาพระหว่างเพื่อนของนักเรียนวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนวัยรุ่นในภาคเหนือตอนล่าง แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 นักเรียนวัยรุ่น จำนวน 960 คน ใช้ในศึกษาองค์ประกอบของมิตรภาพระหว่างเพื่อนของนักเรียนวัยรุ่น ขั้นตอนที่ 2 คัดเลือกจากนักเรียนวัยรุ่นที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนมิตรภาพระหว่างเพื่อนน้อยไปหามาก จำนวน 20 คน และสุ่มอย่างง่าย เข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 10 คน กลุ่มทดลองได้รับการปรึกษากลุ่มเชิงบูรณาการ ผู้วิจัยดำเนินการปรึกษากลุ่มจำนวน 12 ครั้ง ๆ ละ 90 นาที เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ติดต่อกัน ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ได้รับการปรึกษากลุ่มเชิงบูรณาการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบวัดมิตรภาพระหว่างเพื่อน ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.85 2) การปรึกษากลุ่มเชิงบูรณาการมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.8-1.0 ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. การศึกษาองค์ประกอบมิตรภาพระหว่างเพื่อนของนักเรียนวัยรุ่น พบว่า 5 องค์ประกอบ ประกอบด้วย การยอมรับ การช่วยเหลือ การสื่อสาร ความสนิทสนม และความไว้วางใจ มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีน้ำหนักองค์ประกอบอยู่ในเกณฑ์สูง อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 2. มิตรภาพระหว่างเพื่อนของนักเรียนวัยรุ่น กลุ่มทดลองหลังการเข้าร่วมการปรึกษากลุ่ม เชิงบูรณาการและเมื่อสิ้นสุดการติดตามผลสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. มิตรภาพระหว่างเพื่อนของนักเรียนวัยรุ่น กลุ่มทดลองหลังการเข้าร่วมการปรึกษากลุ่ม เชิงบูรณาการและเมื่อสิ้นสุดการติดตามผลสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectวัยรุ่น -- พฤติกรรม
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม
dc.subjectเพื่อน
dc.subjectอารมณ์
dc.subjectวัยรุ่น -- การให้คำปรึกษา
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา
dc.subjectวิทยานิพนธ์?aปริญญาเอก
dc.titleการพัฒนาการปรึกษากลุ่มเชิงบูรณาการทฤษฎีและเทคนิคโดยมีทฤษฎีพิจารณาเหตุผลอารมณ์และพฤติกรรมเป็นฐานต่อมิตรภาพระหว่างเพื่อนของนักเรียนวัยรุ่นในภาคเหนือตอนล่าง
dc.title.alternativeThe development of ssimilte integrtive group counseling bsed on rtionl emotive behvior theory to dolescent students’friendshipin lower Northern Prt of Thilnd
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were; 1) to study the factors of students’ friendship, and 2) to study an integrative group counselling program based on rational emotive behaviour therapy to students’ friendship. The samples were adolescent students from the lower Norther of Thailand which divided into two groups. First group was 960 students, They were used for studying study students’ friendship. The second group consisted of 20 students, selected from the students who had average friendship scores from low to high and were ramdomly assigned in to experimental group and control group of 10 students each. The experimental group has joined counseling program for 12 times, of 90 minutes for 12 consecutive weeks. The control group did not participate in the program. The instruments were; 1) the students’ friendship test, developed by the researcher with alpha coefficient reliability at 0.85, and 2) the integrated group counseling with a consistency index of 0.8-1.0. The results were as follows: 1. The confirmatory factor analysis showed the components of students’ friendship consisted of 5 factors: acceptance, help, communications, closeness and trust. These factors were congruence with the empirical data of high loading, significantly at .05 levels. 2. The students’ friendship of the experimental group in the post-test and the follow up was significantly higher than the pre-test at .05 levels. 3. The students’ friendship of the experimental group in the post-test and the follow up was significantly higher than the control group at the .05 level.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการปรึกษา
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.68 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น