กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7101
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสมุทร ชำนาญ
dc.contributor.advisorธนวิน ทองแพง
dc.contributor.authorศิริรัตน์ ตรีเหรา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:33:23Z
dc.date.available2023-05-12T03:33:23Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7101
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงปฏิรูปของผู้บริหาร สถานศึกษาศึกษา การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาและศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างภาวะผู้นำเชิงปฏิรูปกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด จำนวน 282 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบมาตราวัดประเมินค่า 5 ระดับ ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงปฏิรูปของ ผู้บริหารสถานศึกษามีค่าอำนาจจำแนกกรายข้อระหว่าง .42-.71 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ .93 และ ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าอำนาจจำแนกกรายข้อระหว่าง .37-.60 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ .90 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (r) (Pearson’s Product moment correlation coefficient) ผลการศึกษาพบว่า 1. ภาวะผู้นำเชิงปฏิรูปของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด โดยรวมในแต่ละรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด โดยรวมในแต่ละรายด้านอยู่ในระดับมาก 3. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงปฏิรูปกับการบริหารงานวิชาการของ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด มีความสัมพันธ์กัน ทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectโรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษา
dc.subjectการบริหารการศึกษา
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงปฎิรูปกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด
dc.title.alternativeThereltionship between trnsformtionl ledershipnd the cdemicdministrtionof school dministrtorsprimry eductionlservice re office Trt
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study transformational leadership of the school administrators, academic administration of the school administrators and the relationship between transformational leadership and the academic administration of the school administrators under the Office Trat Primary Educational Service Area. The sample in this study consisted of 282 teachers in schools under the Office Trat Primary Educational Service Area in 2016 academic year. The research in trument used for collecting data was a five-point rating scale questionnaire. The first part of this questionnaire investigated transformational leadership of the school administrators. Its item discrimination power was between .42 and .71. The reliability coefficient of this part was .93. The second part of this questionnaire surveyed academic administration. Its item discrimination power was between .37and .60. The reliability coefficient was .90. Statistics for data analysis in this study were Mean, Standard Deviations and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient. The results of research were: 1. Transformational leadership of the school administrators under the Office Trat Primary Educational Service Area as a whole and all aspects was at a high level. 2. Academic administration of the school administrators under the Office Trad Primary Educational Service Area as a whole and all aspects was at a high level. 3. The relationship between transformational leadership and the academic administration of the school administrators under the Office Trat Primary Educational Service Areaw as positively correlated at a high level, with a significantly significance level at .01.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf830.04 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น