กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7095
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorประยูร อิ่มสวาสดิ์
dc.contributor.advisorสุเมธ งามกนก
dc.contributor.authorนรินทร์ ไพเราะ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:33:22Z
dc.date.available2023-05-12T03:33:22Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7095
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ ตามการรับรู้ของครู กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอนโรงเรียนมัธยมวัดใหม่ กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ ปีการศึกษา 2560 จากการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 142 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 41 ข้อ โดยมีค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .21-.74 และค่าความเชื่อมั่น .91 และแบบสอบถามประสิทธิผลโรงเรียน จำนวน 35 ข้อ โดยมีค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .22-.59 และค่า ความเชื่อมั่น .87 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทอง ในพระราชูปถัมภ์ฯ ทั้งโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ การสร้างมโนทัศน์ การโน้มน้าวใจ และการรับฟังอย่างตั้งใจ ตามลำดับ 2. ประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ด้านความพึงพอใจในการทำงานของครู ด้านการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ และด้านคุณลักษณะของผู้เรียน ตามลำดับ 3. ภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของผู้บริหารมีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผล ของโรงเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในระดับปานกลาง (r = .52) โดยด้านที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของโรงเรียนมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ความรับผิดชอบร่วมกัน (r = .52) การอุทิศตนเพื่อพัฒนาคน (r = .52) และการสร้างกลุ่มชน (r = .50) ตามลำดับ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectโรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหาร
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน
dc.subjectภาวะผู้นำ
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปราจีนบุรี เขต 1
dc.title.alternativeThe reltionship between servnt ledership of dministrtors nd school effectiveness of mtthyom techers in Wtmikrongtong School under the Royl Ptronge Prchinburi Eductionl Service Are Office 1
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the relationship between servant leadership of administration and school effectiveness in school Matthayom Watmaikrongtong under the Royal Patronage Prachinburi Educational Service Area Office 1. The sample group was 142 Mathayom teachers in Watmaikrongtong School in academic year 2017 Random sampling technique was used to identify participant in this study. The tool of this research was a five point - rating - scale questionnaire which divided into 2 sections: the first section contain item 41 questions surveying opinion about servant leadership of administrators which had discrimination power between 0.21-0.74 and the reliability was .91. The second part contains 35 questions surveying school effectiveness which had item discrimination power between 0.22-0.59 and the reliability of questionnaire was .87. The statistics for analyzing data were Mean ( ), Standard Deviation and Pearson Correlation Coefficient. The research found that 1. The servant leadership of administrators in Watmaikrongtong School under the Royal Patronage in general and each aspect was at a high level. The first three factors were conceptual thinking, persuasion and active listening, respectively. 2. The school effectiveness of Watmaikrongtong School under the Royal Patronage in general and each aspect was at a high level. The top three factors were job satisfaction of teachers, learning organization and desired characteristics of learners, respectively. 3. The servant leadership of administration had a positive relationship with school effectiveness at statistically significance at the .05 level (in the medium level, r = .52). The top three factors were collective responsibility (r = .52), dedication to developing people (r = .52) and creating group (r = .50), respectively.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.24 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น