กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6620
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorศิรศาธิญากร จันทร์ขศิราพร
dc.contributor.authorธนัชพร เกิดรุ้ง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:12:17Z
dc.date.available2023-05-12T03:12:17Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6620
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractศึกษาความหลากหลายของทรอสโทไคตริดส์และอะพลาโนไคตริดส์ที่คัดแยกจากใบไม้ ป่าชายเลนที่ร่วงหล่นบริเวณสถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลนที่ 2 (ท่าสอน) จังหวัดจันทบุรี ในเดือนตุลาคม 2559 (ฤดูฝน) และเดือนมีนาคม 2560 (ฤดูแล้ง) จากพันธุ์ไม้ป่าชายเลน 11 ชนิด พบ ทรอสโทไคตริดส์ (Thrautochytrids) ทั้งหมด 249 ไอโซเลท จำแนกได้ 3 ชนิดได้แก่ Aurantiochytrium mangrovei, Aurantiochytrium limacinum และ Aurantiochytrium sp. 1 โดย A. limacinum มีความถี่ของการพบ (Frequency of occurrence) สูงสุด โดยมีค่าอยู่ในช่วง 10-85 เปอร์เซ็นต์และอะพลาโนไคตริดส์ (Aplanochytrids) 1 ชนิด คือ Aplanochytrium sp. จำนวน 107 ไอโซเลท มีความถี่ของการพบ 5-65 เปอร์เซ็นต์โดยพบในเดือนมีนาคม 2560 (ฤดูแล้ง) มากกว่าเดือนตุลาคม 2559 (ฤดูฝน) เมื่อพิจารณาชนิดของพันธุ์ไม้ป่าชายเลน พบว่า ใบโกงกางใบเล็กมีความถี่ของการพบทรอสโทไคตริดส์และอะพลาโนไคตริดส์สูงสุด เมื่อนำทรอสโทไคตริดส์ และอะพลาโนไคตริดส์มาเลี้ยงในอาหารเหลวกลูโคส :ยีสตส์ กดั (6 :1) เขย่าที่ความเร็ว 200 รอบ/ นาที ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 วัน พบว่า มีชีวมวลอยู่ในช่วง 8.12-21.37 กรัม/ลิตร ปริมาณกรดไขมันเออาร์เออยู่ในช่วง 0.18-0.51 มิลลิกรัม/กรัมน้ำ หนักแห้ง (0.04-0.12 เปอร์เซ็นต์ของกรดไขมันทั้งหมด) ดีพีเออยู่ในช่วง 1.81-47.62 มิลลิกรัม/กรัมน้ำหนักแห้ง (0.54-9.07 เปอร์เซ็นตข์องกรดไขมันทั้งหมด) และดีเอชเออยู่ในช่วง 6.81-193.49 มิลลิกรัม/กรัมน้ำหนักแห้ง (2.04-38.35 เปอร์เซ็นต์ของกรดไขมันทั้งหมด)
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectกุหลาบหิน -- การขยายพันธุ์
dc.subjectกุหลาบหิน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาชีววิทยาศึกษา
dc.titleการขยายพันธุ์กุหลาบหินในสภาพปลอดเชื้อ In vitro propagation of kalanchoe rhombopilosa mannoni & boiteau
dc.title.alternativeIn vitro propgtion of klnchoe rhombopilos mnnoni & boiteu
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeDiversity of thraustochytrids and aplanochytrids from fallen senescent leaves of 11 mangrove trees collected from Mangrove Resources Development Station 2 Tarson, Chantaburi Province in October 2016 (rainy season) and March 2017 (dry season) were investigated. A total of 249 isolates of thraustochytrids were found which classified into 3 species, namely Aurantiochytrium mangrovei, Aurantiochytrium limacinum and Aurantiochytrium sp. 1. The highest frequency of occurrence was found in A. limacinum (10-85 %). This study also found 107 isolates (1 species) of Aplanochytrids (Aplanochytrium sp.) expressed as 5-65 % of occurrence. The frequency of occurrence was higher in March 2017 (dry season) than that in October 2016 (rainy season). Consider with the species of mangrove trees, the highest percentage of occurrence of thraustochytrids and aplanochytrids found in leaves of Rhizophora apiculata. The culture of thraustochytrids and aplanochytrids in glucose : yeast extract (6 : 1) medium at 200 rpm, 25 ºC for 4 days were carried out for biomass and fatty acid profiles. Their biomass were in a range of 8.12-21.37 g/L. Arachidonic acid (ARA) ranged from 0.18-0.51 mg/g dry wt. (0.04-0.12 % of total fatty acids), while docosapentaenoic acid (DPA) and docosahexaenoic acid (DHA) were in a range of1.81-47.62 mg/g dry wt. (0.54-9.07 % of total fatty acids) and 6.81-193.49 mg/g dry wt. (2.04-38.35 % of total fatty acids), respectively.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineชีววิทยาศึกษา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.21 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น