กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6593
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorธีทัต ตรีศิริโชติ
dc.contributor.advisorภัทรี ฟรีสตัด
dc.contributor.authorกรกช องอาจ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:08:59Z
dc.date.available2023-05-12T03:08:59Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6593
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัญหาสาเหตุความขัดแย้งในองค์การอุตสาหกรรมยานยนต์ภาคตะวันออก 2) เพื่อศึกษาถึงรูปแบบการบริหารความขัดแย้งในองค์การอุตสาหกรรมยานยนต์ภาคตะวันออก3) เพื่อนำเสนอนโยบายการบริหารความขัดแย้งในองค์การอุตสาหกรรมยานยนต์ภาคตะวันออกโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการศึกษาเอกสาร Documentary research จากการฟ้องร้องคดีแรงงานศาลแรงงานภาค 2 จังหวัดระยอง จำนวน 978 คดีความในปี พ.ศ. 2556-2557 ที่ฟ้องร้องกันและเป็นคดีที่ศาลได้ตัดสินเป็นที่สิ้นสุดลงแล้ว โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากสำนวนคดีความนำมาเข้าสูตรของ Krejcie and Morgan (1970) ซึ่งได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 280 คดีสำนวนคดีความเพื่อนำมาสังเคราะห์ แล้วนำไปทำการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) กับผู้พิพากษาและผู้บริหารโรงงานอุตสาหกรรมที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับคดีความการฟ้องร้อง จำนวน 9 คน ผู้วิจัยได้ทำการสัมภาษณ์แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) หรือเฉพาะผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่อสำนวนคดีการฟ้องร้อง ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัญหาสาเหตุความขัดแย้งในองค์การอุตสาหกรรมยานยนต์ภาคตะวันออก มีลำดับตามความสำคัญ ประกอบด้วย 1) ด้านข้อมูลข่าวสารที่ต้องมีความชัดเจน 2) ด้านผลประโยชน์ที่สามารถยอมรับได้ทั้งสองฝ่าย 3) ด้านโครงสร้างที่เหมาะสมบริหารจัดการภายในองค์การที่ดี 4) ด้านความสัมพันธ์มีความเคารพซึ่งกันและกัน 5) ด้านค่านิยม ทัศนคติที่ดีมีความไว้วางใจต่อกัน 2. รูปแบบการบริหารความขัดแย้งมี 7 วิธี ที่ผู้วิจัยได้ค้นพบโดยเรียงลำดับตามความเหมาะสมจากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) การบริหารจัดการความขัดแย้งด้วยวิธีการประนีประนอม 2) ด้วยวิธีการไกล่เกลี่ย 3) ด้วยวิธีการปรองดอง 4) ด้วยวิธีร่วมมือ 5) ด้วยวิธีการหลีกเลี่ยง 6) ด้วยวิธีเผชิญหน้า และ 7) ด้วยวิธีการบังคับ 3. นโยบายการบริหารความขัดแย้งที่ดีจะต้องทำตามกฎหมายแรงงานที่ได้บัญญัติถึงสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างลูกจ้างที่กำหนดให้ต้องปฏิบัติต่อกันอย่างชัดเจน ลดการเอาเปรียบในการจ้างงานสร้างความเป็นธรรมให้กับทั้งสองฝ่ายซึ่งต้องตระหนักว่าลูกจ้างกับนายจ้าง มีผลประโยชน์ร่วมกัน และสร้างบรรยากาศในการทำงานที่ดี ปราศจากการมีอคติและการทำลาย ซึ่งกันและกัน
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการบริหารความขัดแย้ง
dc.subjectอุตสาหกรรมยานยนต์ -- ไทย
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์
dc.subjectการบริหารองค์การ
dc.titleรูปแบบการบริหารความขัดแย้งในองค์การอุตสาหกรรมยานยนต์ภาคตะวันออก
dc.title.alternativeOrgniztionl conflict mngement model within the utomotive industry in estern region
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis study aimed 1) To study the causes of conflict in the Eastern Automotive Industry Organization. 2) To study the conflict management model in the Eastern Automotive Industry Organization.3) To present the conflict management policy in the Eastern Automotive Industry Organization. Using qualitative research methods. The Documentary Research of Labor Lawsuit, Labor Court, Region 2, Rayong Province was reviewed. There were 978 lawsuits, were settled in 2013-2014 litigated and a court case has been finalized. By specifying the size of the sample from the Krejcie and Morgan formula (1970), the sample size was 280 lawsuit cases. Then take an in-depth interview with industry judges and executives involved in 9 lawsuits. The researcher conducted a specific interview (Purposive smiling) or only those involved in the prosecution case. The finding as below. 1. The cause of the conflict has showed from the most important to the least one, respectively 1) the information must be clear 2) the benefits can be acceptable to both parties 3) the appropriate structure management within the organization good 4) good relationship must be respected to each other 5) have a good attitude, values & trust each other 2. Conflict Management Model. There are seven methods that researchers have identified in order of importance. 1) Conflict management with compromise method 2) mediation method3) reconciliation method 4) collaborative approach5) avoidance methods 6) confrontation methods and 7) the force method. 3. Good conflict management policies must be in accordance with the labor law that provides for the rights and duties of employers, employees who are required to deal with each other clearly. Reducing Employment Abused to be fair to both parties, it is important to realize that employees and employers have mutual interest and creative a good working atmosphere. Without prejudice and destruction to each other.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineการพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.15 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น