กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6447
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorนุจรี ภาคาสัตย์
dc.contributor.authorวรรณพงค์ ช่วยรักษา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:51:18Z
dc.date.available2023-05-12T02:51:18Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6447
dc.descriptionงานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractจากการวิจัย “แนวทางการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน: กรณีศึกษากลุ่มสตรีทอผ้าฝ้าย ย้อมคราม บ้านถ้ำเต่า จังหวัดสกลนคร” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของกลุ่มสตรีทอผ้าฝ้ายย้อมคราม บ้านถ้ำเต่า จังหวัดสกลนครเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน กลุ่มสตรีทอผ้าฝ้ายย้อมคราม บ้านถ้ำเต่า จังหวัดสกลนครกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือกลุ่มสตรีทอผ้าฝ้ายย้อมคราม บ้านถ้ำเต่า จังหวัดสกลนคร จำนวนกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ประธานกลุ่ม รองประธานกลุ่ม สมาชิกกลุ่มสตรีทอผ้าฝ้ายย้อมคราม บ้านถ้ำเต่า จังหวัดสกลนคร ผลการศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้ ผลการศึกษาปัญหาและอุปสรรคของกลุ่มสตรีทอผ้าฝ้ายย้อมคราม บ้านถ้ำเต่า จังหวัดสกลนคร พบว่า ด้านการบริหารจัดการกลุ่มและสมาชิก พบว่า การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐยังค่อนข้างจำกัดรวมถึงการพัฒนาการจัดการอื่น ๆ เช่น บรรจุภัณฑ์ การจัดจำหน่ายยังค่อนข้างจำกัด ด้านการตลาดและลูกค้า พบว่า การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองความต้องการของผู้ซื้อตามยุคสมัยและการจัดจำหน่ายเช่น จากการออกบูท ยังมีค่อนข้างน้อย ด้านการผลิตและงานสนับสนุนการผลิต พบว่า การนำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการดำเนินการผลิตยังไม่ชัดเจน การส่งเสริมการสร้างเครือข่ายความร่วมมือให้เข้มแข็ง และกว้างขวางในระดับประเทศเพื่อการขยายภาคการผลิตและการจัดจำหน่ายยังมีค่อนข้างน้อย และด้านการเงินและบัญชี พบว่า แหล่งเงินทุนในการสนับสนุนภาคการผลิตยังมีค่อนข้าง จำกัด รวมถึงการจัดทำบัญชีของสมาชิกยังค่อนข้างไม่ต่อเนื่อง ส่วนแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานของกลุ่มสตรีทอผ้าฝ้ายย้อมคราม บ้านถ้ำเต่า จังหวัดสกลนคร พบว่า ควรมีการส่งเสริมการสร้างเครือข่ายความร่วมมือให้เข้มแข็งและกว้างขวางในระดับประเทศเพื่อการขยายภาคการผลิตและการจัดจำหน่ายที่ยังมีค่อนขางน้อยการวางแผนการผลิตที่ครบวงจร การพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ที่มีความหลากหลาย ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectผ้า -- สกลนคร
dc.subjectวิสาหกิจชุมชน -- ไทย -- สกลนคร
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร
dc.subjectผ้าย้อมคราม
dc.titleแนวทางการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน : กรณีศึกษา กลุ่มสตรีทอผ้าฝ้ายย้อมคราม บ้านถ้ำเต่า จังหวัดสกลนคร
dc.title.alternativeApproch to develop community enterprise: cse study of indigo-dyed cotton weving group of bn thm to in skonnkorn province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe research had objectives to study problems and obstacles of Women’s Indigo-dyed Cotton Weaving Group in Baan Tham Tao in Sakonnakorn Province and to determine the approach to develop Community Enterprise. The sample group was a Women’s Indigo-dyed Cotton Weaving Group in Baan Tham Tao in Sakonnakorn Province. The group consisted of a chairperson, vice chairperson and the members of Women’s Indigo-dyed Cotton Weaving Group in Baan Tham Tao in Sakonnakorn Province. To the problems and obstacles of Women’s Indigo-dyed Cotton Weaving Group in Baan Tham Tao in Sakonnakorn Province, it was found that there was limited support from the government in the management of the group and its members. In addition, the development of other management, such as packaging, distribution was still quite limited. To marketing, the customers found that there were limited distribution and product development to meet the needs of these days, and there were quite a few booths to sell the products. To production and production support, there was no obvious use of modern technology in production. There was still little support in the establishment of a strong and extensive national cooperation network for the expansion of the manufacturing and distribution sectors. To finance and accounting, it was found that there was few and relatively limited funding sources for supporting the manufacturing sector. In addition, there was discrete bookkeeping of members’ records. To the approach to develop the operation of Women’s Indigo-dyed Cotton Weaving Group in Baan Tham Tao in Sakonnakorn Province, it was found that there was still relatively little promotion of the establishment of a strong and extensive national cooperation network to expand the manufacturing and distribution sectors. There should also be comprehensive production planning, raw material development, and the development of a diversified range of products to meet the needs of consumers.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.53 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น