กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6308
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorรชฏ จันทร์น้อย
dc.contributor.authorอรรถกฤช ผ่องคณะ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-05-12T02:42:22Z
dc.date.available2023-05-12T02:42:22Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6308
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง แนวทางการแก้ไขปัญหาความเครียดของครูในโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความเครียดของครูในโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ 2) เพื่อศึกษาสาเหตุปัญหาความเครียดของครูในโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ 3) เพื่อศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาความเครียดของครูในโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ประชากรได้แก่ ครูจํานวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถาม ซึ่งค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .98 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูปสถิติที่ใช้ได้แก่ค่าเฉลี่ยร้อยละค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ครูในโรงเรียนเศรษฐเสถียรในพระราชูปถัมภ์มีระดับความเครียด โดยรวมอยู่ในระดับสูง โดยมีความเครียดด้านร่างกายมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านจิตใจและด้านพฤติกรรม สาเหตุความเครียดของครูในโรงเรียนเศรษฐเสถียรในพระราชูปถัมภ์มีสาเหตุจากปัจจัยด้านลักษณะงานมากที่สุด รองลงมาคือ ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยการเงิน ส่วนแนวทางการแกไข้ ปัญหาความเครียดของครูในโรงเรียนเศรษฐเสถียรในพระราชูปถัมภ์พบว่า มีแนวทางการแก้ไข ปัญหาความเครียด ส่วนใหญ่เป็นการจัดการความเครียดแบบมุ่งจัดการกบอารมณ์เรียงตามความถี่ ได้แก่การฟังเพลง ดูโทรทัศน์นอนหลับพักผ่อน ท่องเที่ยวตามธรรมชาติพูดคุยกับบุคคลอื่นนั่งสมาธิ เดินซื้อของตามห้างสรรพสินค้า ทําจิตใจให้มีความสุข ดูภาพยนตร์เล่นเกมในโทรศัพท์มือถือ ปฏิบัติธรรม ออกกาลังกาย อ่านหนังสือและปลูกต้นไม้และการจัดการ ความเครียดแบบมุ่งจัดการกับปัญหา ได้แก่การหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทําให้เครียด การจัดการความเครียด ทางอ้อม ได้แก่การรับประทานอาหารและดื่มสุรา
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectครู -- ความเครียดในการทำงาน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์
dc.titleแนวทางการแก้ไขปัญหาความเครียดของครูในโรงเรียนเศรษฐเสถียรในพระราชูปถัมภ์
dc.title.alternativeSolving guidelines for stress problems mong techers in setstin school under the royl ptronge
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was threefold. First, it aimed at examining a level of stress among teachers working for Setsatian School under the Royal Patronage. Also, this study intended to investigate the causes of stress among these teachers. The third purpose was to examine the solving guidelines for stress problems of these teachers. The population was 35 teachers working for Setsatian School under the Royal Patronage. The instrument used to collect the data was a questionnaire with a level of reliability of .98. A statistical program, including means, percentage, and standard deviation, was administered for data analysis. The results of the study revealed that the teachers working for Setsatian School under the Royal Patronage had a high level of stress. Specifically, they rated the physical stress at the highest, followed by mental and behavioral stress. The causes of stress among these teachers was due to the type of work which was rated the highest, followed by personal factors, and financial reasons. Regarding solving guidelines for stress problems, the subjects dealt with it by managing their emotion. This included listening to songs which was rated the highest, followed by watching T.V., sleeping, visiting natural places, chatting with other people, mediating, shopping, being happy, watching movies, playing games on mobile phones, practicing drama, exercising, reading, growing plants, respectively. Also, they dealt with their stress problems, such as avoiding things that causes stress. Finally, the subjects managed their stress indirectly. This included eating and drinking alcoholic drinks.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารทรัพยากรมนุษย์
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.2 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น