กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4582
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวรเทพ มุธุวรรณ-
dc.date.accessioned2022-07-30T07:48:09Z-
dc.date.available2022-07-30T07:48:09Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4582-
dc.description.abstractปะการังเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความเปราะบาง และไม่ทนต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ทำให้คนส่วนใหญ่มีความเชื่อว่าปะการังต้องอาศัยอยู่ในแหล่งอาศัยตามธรรมชาติเท่านั้น แม้ในปัจจุบันเรามีความเข้าใจในความต้องการของปะการังมากขึ้น จนสามารถนำปะการังมาศึกษาวิจัยในที่เลี้ยง (Captivity) หรือห้อง ปฏิบัติการ และสามารถขยายพันธุ์ปะการังในที่เลี้ยงได้ เช่น ในตู้จัดแสดงของพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำบางแห่ง ห้องปฏิบัติการหรือสถานที่วิจัยการเลี้ยงสัตว์ทะเลและปะการัง ทั้งในและต่างประเทศ แต่องค์ความรู้นี้ยังจำกัดอยู่กับบุคคลเฉพาะกลุ่มเท่านั้น ไม่ถูกเผยแพร่ออกไปอย่างกว้างขวาง บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ที่จะรวบรวมองค์ความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับระบบการเลี้ยง ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาใช้สำหรับการเลี้ยงปะการังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ที่ถูกเรียกว่า “ระบบธรรมชาติ” เพราะใช้หลักการจำลองระบบนิเวศและกระบวนการธรรมชาติให้เกิดขึ้นในที่เลี้ยง ซึ่งเป็นที่มาของความสำเร็จของการเลี้ยงปะการังในที่เลี้ยงจนถึงปัจจุบัน จำนวน 4 ระบบ คือ Lee Chin Eng natural system, Berlin system, Monaco system, และ Algal turf scrubber โดยจะอธิบายถึงหลักการของระบบธรรมชาติโดยรวม และรายละเอียดของระบบธรรมชาติ แต่ละระบบ โดยเฉพาะหลักการ องค์ประกอบ และกระบวนการทางธรรมชาติที่สำคัญที่เกิดขึ้น เพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถนำไปใช้ในการเลี้ยงปะการังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอื่นๆ เพื่อการศึกษา วิจัย และการส่งเสริมการเรียนรู้th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectปะการังth_TH
dc.subjectปะการัง -- การเลี้ยงth_TH
dc.titleระบบธรรมชาติสำหรับการเลี้ยงปะการังในที่เลี้ยงth_TH
dc.title.alternativeNatural systems for corals culture in a captivityth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume26th_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeCorals are fragile marine invertebrates. They are highly sensitive to change in environmental conditions. Thus, most of the people believe that it is difficult or impossible to keep corals in captivity, and corals will only survive in its ecosystem. Nowadays, most of the corals are not only surviving in captivity but also propagate in many public aquariums and research institutes. The success of the coral culture is due to the research and development of the “natural systems” for keeping these sensitive animals. However, scientific knowledge of coral keeping is not widely recognized by the public. The information is limit to specific groups of people such as experienced marine hobbyist, aquarist in the public aquarium, and researcher who researches on coral and reef organisms culture. This article aims to provide in-depth information on the four natural systems that have been successfully used in keeping the corals and marine invertebrates in captivity. These systems are Lee Chin Eng natural system, Berlin system, Monaco system, and Algal turf scrubber. The principle of the development, composition, and biological processes of the systems are explained to provide enough information for the aquarist, researcher, and reef invertebrates keeping enthusiast to be used in research or public education.th_TH
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journalth_TH
dc.page1186-1203.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
sci26n2p1186-1203.pdf535.23 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น