กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4534
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorThongsouy Sitanon-
dc.contributor.authorJinjutha Chaisena Dallas-
dc.contributor.authorOrawan Duangchai-
dc.date.accessioned2022-07-15T10:20:39Z-
dc.date.available2022-07-15T10:20:39Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4534-
dc.description.abstractการศึกษาเชิงคุณภาพแบบพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรยายประสบการณ์ของนักศึกษาพยาบาลในการส่งเสริมกระบวนการเลี้ยงดูของบิดามารดาในการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิด ผู้ให้ข้อมูลเป็นนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่สี่ จำนวน 12 คน ที่สำเร็จการศึกษาภาคปฏิบัติทางคลินิกในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิด เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างพร้อมคำถามปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหาแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า การสนับสนุนการเลี้ยงดูบุตร เป็นหมวดหมู่หลักที่อธิบายประสบการณ์พยาบาลของนักศึกษาในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิด ซึ่งหมวดหมู่หลักประกอบด้วย 3 หมวดหมู่ทั่วไป ได้แก่ การส่งเสริมการเยี่ยม การส่งเสริมการดูแลบุตร และการสนับสนุนทางอารมณ์ของบิดามารดา ส่วนหมวดหมู่ย่อย 30 หมวดหมู่นั้นประกอบด้วย 5 หมวดหมู่รอง ที่อธิบายการส่งเสริมการมาเยี่ยมบุตรจำนวน 5 หมวดหมู่ อธิบายการสนับสนุนทางอารมณ์ จำนวน 2 หมวดหมู่ และส่วนที่เหลือเป็นการอธิบายการส่งเสริมการดูแลบุตรของบิดามารดา สรุปได้ว่า การส่งเสริมกระบวนการเลี้ยงดูบุตรในระหว่างทารกเกิดก่อนกำหนดได้รับการรักษาอยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิด เป็นบทบาทสำคัญของพยาบาลทารกแรกเกิด ข้อมูลที่ได้จากประสบการณ์ของนักศึกษาในครั้งนี้สามารถนำมาใช้ในการออกแบบการเรียนการสอนเพื่อฝึกอบรมนักศึกษาพยาบาลที่จะเป็นผู้สำเร็จการศึกษาใหม่ให้ส่งเสริมกระบวนการเลี้ยงดูทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการรักษาอยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิดในอนาคตโดยเฉพาะในช่วงที่มีการเข้มงวดในการเลี้ยงดูทารกระหว่างมีการแพร่ระบาดของโควิด-19th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectPremature infantsth_TH
dc.subjectInfants -- Careth_TH
dc.titlePromoting parenting process in caring for preterm infants in the neonatal intensive care unit: Student nurse experiencesth_TH
dc.title.alternativeการส่งเสริมกระบวนการเลี้ยงดูบุตรของบิดามารดาในการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดในหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิด: ประสบการณ์นักศึกษาพยาบาลth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume29th_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this descriptive qualitative study was to describe student nurse experiences in caring for parents of premature infants in a neonatal intensive care unit (NICU). Twelve senior student nurses who completed their NICU clinical practice participated in the study. A semi-structured interview guide with open-ended questions used along with audio-taped recordings. After each interview, the tape was transcribed verbatim. The data were analyzed using inductive content analysis. The results revealed that supporting parental care was the main category to describe the student nurse experiences in the NICU. This main category consisted of three generie categories and thisteen sub-categories. Three generic categories were encouraging parental visits, promoting parental care, and supporting parents emotionally. Among thirteen sub-categories, fve sub-categories described encouraging parental visits, two subcategories described supporting parents emotionally, and the rest delineated promoting parental care. In conclusion, supporting parental care during infant hospitalization is an important role of neonatal nurses in the NICU. These student experiences can be used to guide the pediatric clinical practice course design to train student nurses to support parents of premature infants during hospitalization. This is even more important when parental care delivery is restricted due to the COVID-19 pandemic.th_TH
dc.journalวารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.page81-94.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
nus29n2p81-94.pdf257.96 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น