กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4528
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเสาวภา ดงหงษ์-
dc.contributor.authorรุ่งรัตน์ ศรีสุริยเวศน์-
dc.contributor.authorพรนภา หอมสินธุ์-
dc.date.accessioned2022-07-15T09:11:30Z-
dc.date.available2022-07-15T09:11:30Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4528-
dc.description.abstractการวิจัยเชิงหาความสัมพันธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของทหารกองประจำการ กองทัพเรือในจังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ พลทหารใหม่กองประจำการที่ศูนย์ฝึกหน่วยนาวิกโยธินและศูนย์ฝึกหน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง ในเขตอำเภอสัตหีบ จ.ชลบุรี จำนวน 364 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างอย่างเป็นระบบ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประกอบด้วยแบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมการสูบบุหรี่ พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พฤติกรรมทางเพศและแบบประเมินความเครียด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่าง มีระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพในภาพรวมระดับไม่เพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 48.1 โดยพบมากที่สุดในด้านการเข้าใจ ด้านการเปลี่ยนพฤติกรรมและการบอกต่อ และด้านการโต้ตอบซักถาม (ร้อยละ 54.9, 38.7, 34.9 ตามลำดับ) เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพ พบว่า พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ (r = -.271) การดื่มแอลกอฮอล์ (r = -.268) ความเครียด (r = -.173) การสูบบุหรี่ (r = -.162) มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) และฐานะทางเศรษฐกิจ (r = 0.154) จากผลการวิจัย มีข้อเสนอแนะว่า ทหารกองประจำการที่มีความเครียด มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพจะมีแนวโน้มที่จะมีความรอบรู้ด้านสุขภาพต่ำth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectความรอบรู้ทางสุขภาพth_TH
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพth_TH
dc.subjectสุขภาพth_TH
dc.subjectทหารกองประจำการth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของทหารกองประจำการ จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors related to health literacy among military conscripts in Chon-Buri Provinceth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume29th_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeThis correlational study aimed to identify the level of health literacy and factors related to health literacy among military conscripts in Chon-Buri Province. Systematic sampling was used to recruited 364 new navy conscripts stationed at the Marine Corps Training Center and the Combat Air Command and Coast Guard Training Center in Sattahip District, Chon-Buri Province. Data were collected by questionnaires consisting of a health literacy scale, smoking behavior scale, alcohol drinking behavior scale, sexual behavior scale, and stress scale. The data were analyzed by percentages, means and standard deviations, and by Pearson correlation coefficients. The results revealed that 48.1% of the sample reported insufficient levels of health literacy. The most insufficient components were understanding, behavior change and continuation, and interaction and questioning (54.9%, 38.7%, and 34.9%, respectively). Correlational analysis found that sexual risk behavior (r = -.271), alcohol drinking (r = -.268), stress (r = -.173) and smoking (r = -.162 )were negatively correlated with health literacy (p < .05). Economic status was positively related to health literacy (r = .154). The results suggest that army conscripts with high stress and risky health behaviors are likely to have low health literacy and thus should receive activities to enhance health literacy.th_TH
dc.journalวารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.page13-23.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
nus29n2p13-23.pdf196.43 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น