กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4225
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกิตติพิชญ์ วรโชติสุพัฒภาคิน
dc.contributor.authorพักตร์วิภา โพธิ์ศรี
dc.contributor.authorอุทิศ บำรุงชีพ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สาขาการศึกษา
dc.date.accessioned2021-06-22T06:47:06Z
dc.date.available2021-06-22T06:47:06Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4225
dc.description.abstractผลการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเรื่องบทบาทการศึกษาต่อการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดิจิทัลสู่ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางพัฒนาบทบาทการศึกษาต่อการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดิจิทัลสู่ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม โดยมีรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพที่เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลจำนวน 15 คน ผลการวิจัยพบว่าแนวทางพัฒนาบทบาทการศึกษาต่อการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดิจิทัลสู่ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม ประกอบด้วย 7 มิติ หรือ KITIPIT Dimensions ได้แก่ 1. มิติทางความรู้ (K : Knowledge ) 2. มิติการเสาะแสวงหาความรู้ (I : Inquiry) 3. มิติทางเทคโนโลยีและการเรียนรู้ (T : Technology & Learning Resources) 4. มิติทางทักษะ (I : Intellectual) 5. มิติการมีส่วนร่วม (P : Participation) 6. มิติการคิดเชิงนวัตรรม (I : Innovative Thinking) และ 7. มิติการบันทึก การคิดทบทวน และการสะท้อนความคิด (T : Thought Diary)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectพลเมืองดิจิทัลth_TH
dc.subjectการบริหารการศึกษาth_TH
dc.subjectทักษะทางการคิดth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleแนวทางพัฒนาบทบาทการศึกษาต่อการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดิจิทัลสู่ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมth_TH
dc.title.alternativeThe role of education development guidelines to enhance digital citizenship towards innovative thinking skillsen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume15th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe results section of the role of education to enhance digital citizenship towards innovative thinking skills research paper. The objectives of this study were to propose the role of education development guidelines to enhance digital citizenship towards innovative thinking skills. The research utilized a qualitative methodology through in-depth interviews from 15 key informants. Findings were as follows: The role of education development guidelines to enhance digital citizenship towards innovative thinking skill consisted of 7 dimensions (KITIPIT dimensions): 1) K: Knowledge, 2) I: Inquiry, 3) T: Technology & Learning Resources, 4) I: Intellectual, 5) P: Participation, 6) I: Innovative Thinking, 7) T: Thought Diary.en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคมth_TH
dc.page327-341.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
edusoc15n2p327-341.pdf704.61 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น