กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4224
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุขเกษม บุรินทร์
dc.contributor.authorจันทร์พร พรหมมาศ
dc.contributor.authorวีระพันธ์ พานิชย์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2021-06-22T06:13:37Z
dc.date.available2021-06-22T06:13:37Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4224
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คอมพิวเตอร์ และความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนตามแนววงจรการเรียนรู้กับนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนสตรีสิริเกศ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 84 คน ได้มาจากวิธีเลือกแบบสุ่มแบบการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง 1. แผนการจัดการเรียนการสอนตามแนววงจรการเรียนรู้ 2. แผนการจัดการเรียนการสอนแบบปกติ 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ 4. แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยใช้วิธีการทดสอบก่อนและหลังเรียนกับกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนตามแนววงจรการเรียนรู้สูงกว่ากลุ่มที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยการจัดการเรียนการสอนตามแนววงจรการเรียนรู้สูงกว่ากลุ่มที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศีกษา)th_TH
dc.subjectการแก้ปัญหาth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร์ ตามแนววงจรการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คอมพิวเตอร์และความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th_TH
dc.title.alternativeEffect of using learning cycle on learning achievement and problem solving ability of matthayomsuksa five students in computer subjecten
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume15th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to compare computer learning achievement and problem solving ability of using the learning cycle and the traditional method. The samples were 84 students who studied in Mathayomsuksa five students at Satri Siriket School of the academic year 2017, They were selected by cluster random sampling ,The research instruments were 1) the lesson plans which used the learning cycle 2) the lesson plans which used the traditional method 3) computer achievement test and 4) problem solving ability test. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation, pretest-posttest, nonequivalent control group design.The research results were as follows; 1. Computer learning achievement of Mathayomsuksa five students after learning with learning cycle were higher than traditional method at significance .01 level 2. The problem solving ability of Mathayomsuksa five students after learning with learning cycle were higher than traditional method at significance .01 levelen
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคมth_TH
dc.page354-363.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
edusoc15n2p354-363.pdf719.34 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น