กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4168
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสราลี พุ่มกุมาร
dc.contributor.authorวิรัตน์ สนธิ์จันทร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned2021-06-16T04:08:49Z
dc.date.available2021-06-16T04:08:49Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4168
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการรับรู้การสื่อสารทางการตลาดและการรับรู้บุคลิกภาพตราสินค้า คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา 2) เปรียบเทียบลักษณะทางประชากรที่มีผลต่อการรับรู้บุคลิกภาพตราสินค้าของคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารทางการตลาดกับการรับรู้บุคลิกภาพตราสินค้า คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้วิธีการสำรวจด้วย แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 800 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้การสื่อสารทางการตลาดของคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้บุคลิกภาพตราสินค้า คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา อยู่ในมิติผู้มีความสามารถมากที่สุด รองลงมา คือ มิติบุคลิกภาพน่าตื่นเต้น,บุคลิกภาพจริงใจ, บุคลิกภาพห้าวหาญ และบุคลิกภาพโก้หรู มีระดับ 3) เพศแตกต่างกันทำให้การรับรู้มิติบุคลิกภาพตราสินค้าแบบห้าวหาญ ของคณะวิทยาศาสตร์การกีฬามหาวิทยาลัยบูรพา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) ประเภทกลุ่มตัวอย่างแตกต่างกัน ทำให้การรับรู้มิติบุคลิกภาพตราสินค้าแบบโก้หรู มีระดับของคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 5) การสื่อสารทางการตลาดของคณะวิทยาศาสตร์การกีฬามหาวิทยาลัยบูรพา กับการรับรู้บุคลิกภาพจริงใจ มีความสัมพันธ์กันมากที่สุด ที่ระดับ 0.50 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการสื่อสารทางการตลาดth_TH
dc.subjectชื่อตราผลิตภัณฑ์th_TH
dc.subjectสาขาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสื่อสารทางการตลาดกับบุคลิกภาพตราสินค้า คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between the perceptions of marketing communications and brand personality of faculty of sport science, Burapha Universityen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume28th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThis quantitative research aimed to 1) study the perception of marketing communications and the perception of brand personality of Faculty of Sport Science; 2) compare the demographic characteristics factors affecting the perception of brand personality of Faculty of Sport Science; and 3) study the relationship between the marketing communications and the perception of brand personality of Faculty of Sport Science. The data was collected from the questionnaire responded by 800 participants. The results showed that 1) participants had the overall perception of marketing communications of Faculty of Sport Science at the moderate level; 2) Participants had the perception of brand personality of Faculty of Sport Science in terms of group of competencies dimension at the highest level followed by excitement, sincerity, ruggedness, and sophistication dimensions respectively; 3) differences in genders affect the perception of brand personality in ruggedness of Faculty of Sport Science, Burapha University. There was a statistically significant difference at 0.05; 4) different kinds of participant groups affect the perception of brand personality in sophistication dimension of Faculty of Sport Science, Burapha University, and had statistically significant difference at 0.05; and 5) the marketing communication of Faculty of Sport Science, Burapha University and perception of sincerity dimension had statistically significant relationship at 0.05en
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.page295-317.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
huso28n2p295-317.pdf587.46 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น