กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4161
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจิรพรรณ พูลเอี่ยม
dc.contributor.authorชมพูนุท ศรีจันทร์นิล
dc.contributor.authorดลดาว วงศ์ธีระธรณ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2021-06-15T08:32:06Z
dc.date.available2021-06-15T08:32:06Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4161
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ความรู้สึกแปลกแยก ในมหาวิทยาลัยของนิสิตปริญญาตรีและผลกระทบของความรู้สึกที่เกิดขึ้น โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปรากฏการณ์วิทยาแบบบรรยาย ข้อมูลวิจัยได้มาจากการสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างกับนิสิตปริญญาตรีที่กำลังประสบกับความรู้สึกแปลกแยก จำนวน 3 คน และวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยตามขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปรากฏการณ์วิทยาแบบบรรยาย ผลการวิจัยพบโครงสร้างทั่วไปของประสบการณ์ความรู้สึกแปลกแยกในมหาวิทยาลัยของนิสิตปริญญาตรีที่ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบสำคัญ ได้แก่ 1) ความแตกต่างจากบุคคลอื่นในมหาวิทยาลัย 2) ความไม่พึงพอใจบุคคลในสังคมมหาวิทยาลัย 3) ความไม่เชื่อใจบุคคลในสังคมมหาวิทยาลัย 4) ความรู้สึกไม่เป็นส่วนหนึ่งของสังคมมหาวิทยาลัย และ 5) การขาดที่พึ่ง อีกทั้งองค์ประกอบเหล่านี้ ยังสะท้อนให้เห็นถึงผลกระทบทางจิตใจที่เกิดขึ้นกับนิสิตที่มีความรู้สึกแปลกแยก และทำให้ผู้วิจัยในฐานะนักจิตวิทยาการปรึกษาได้เข้าใจ และตระหนักถึงแนวทางการช่วยเหลือทางด้านจิตใจกับนิสิตเหล่านี้th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectนักศึกษา -- จิตวิทยาth_TH
dc.subjectทักษะทางสังคมในวัยรุ่นth_TH
dc.subjectปฏิสัมพันธ์ทางสังคมth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleความรู้สึกแปลกแยกในมหาวิทยาลัยของนิสิตปริญญาตรี : การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยาแบบบรรยายth_TH
dc.title.alternativeUndergraduate students' alienation: A descriptive phenomenological studyen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume31th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to investigate undergraduate students’ alienation and its effects, using Giorgi’s descriptive phenomenological method. Data were gathered through semi-structured interviews with 3 alienated undergraduate students, and analyzed according to the descriptive phenomenological method. Five invariant constituents of the experiences were identified: 1) being different from others, 2) dissatisfaction of others, 3) distrust of others, 4) feeling socially isolated at university and 5) lack of support. These constituents showed alienated undergraduate students’ psychological effects and helped the researcher as a counselor gain a better understanding, as well as identify potential ways to psychologically support this group of people.en
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.page162-173.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
edu31n2p162-173.pdf113.24 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น