กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4084
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorดวงเดือน แซ่ตัง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2021-05-23T06:15:28Z
dc.date.available2021-05-23T06:15:28Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4084
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเป็นคนดีน่าเชื่อถือของหัวหน้าสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นครูผู้สอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในประเทศไทย จำนวน 649 คน ใช้การสุ่มแบบหลายขั้นตอน (multi-stage random sampling) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบ stepwise ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ความยุติธรรม การได้รับการสนับสนุนทางสังคม ความไว้วางใจในหัวหน้า ความสอดคล้องกันระหว่างค่านิยมของหัวหน้าและลูกน้อง ภาวะผู้นำแบบมุ่งพัฒนา และการรับรู้ความปลอดภัยของกลุ่มสามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมความเป็นคนดีน่าเชื่อถือของหัวหน้าสถานศึกษาได้ร้อยละ 78 โดยการรับรู้ความยุติธรรมเป็นตัวทำนายที่สำคัญที่สุด รองลงมา คือ การได้รับการสนับสนุนทางสังคม และความไว้วางใจในหัวหน้า นอกจากนี้ยังได้มีการเสนอแนะการนำผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้และการทำวิจัยในอนาคตth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียนth_TH
dc.subjectความไว้วางใจth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นคนดีน่าเชื่อถือของหัวหน้าสถานศึกษาth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting managerial trustworthy behavior in schoolsen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue3th_TH
dc.volume28th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe present study aimed to examine the factors affecting managerial trustworthy behavior. The participants consisted of 649 primary and secondary school teachers in Thailand. Multi-stage random sampling was used to draw a sample. Stepwise multiple regression analysis was performed between managerial trustworthy behavior as a dependent variable and transformational leadership, trust, trust propensity, perceived organizational justice, team psychological safety, value congruence, and social support as independent variables. The results indicated that altogether 78% of the variability in managerial trustworthy behavior was predicted by transformational leadership, trust, perceived organizational justice, team psychological safety, value congruence, and social support. However, perceived organizational justice, social support and trust, respectively made the most contribution to predicting managerial trustworthy behavior. Implications and future research are also discussed."en
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์th_TH
dc.page67-91.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
huso28n3p67-91.pdf677.07 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น