กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/399
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชลี ไพบูลย์กิจกุลth
dc.contributor.authorนภาพร เลียดประถมth
dc.contributor.authorวศิน ยุวนะเตมีย์th
dc.contributor.authorบัญชา นิลเกิดth
dc.contributor.authorบัลลังก์ เนื่องแสงth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:33Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:33Z
dc.date.issued2548
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/399
dc.description.abstractการศึกษาการพัฒนาและปรับปรุงระบบบ่อเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon ระบบปิด โดยมีการใช้สาหร่ายช่อพริกไทย Caulerpa sp. และวัสดุเพิ่มพื้นที่ผิวสำหรับแบคทีเรียเกาะเพื่อการปรับปรุงคุณภาพน้ำในระหว่างการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ โดยทำการทดลองทั้งในห้องปฏิบัติการและบ่อดินกลางแจ้ง ทำการเก็บข้อมูลคุณภาพน้ำ น้ำหนักสาหร่าย อัตราการเจริญเติบโตและอัตรา การรอดของกุ้ง อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนัก และผลผลิตรวม ผลการศึกษาพบว่าบ่อทดลองเลี้ยงกุ้งกุลาดำ ที่มีระบบหมุนเวียนน้ำแบบปิดโดยใช้สาหร่ายช่อพริกไทยและตาข่ายเพิ่มพื้นที่ผิวสามารถบำบัดคุณภาพน้ำและเพิ่มผลผลิตรวมของกุ้งกุลาดำ บ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำที่มีระบบบำบัดคุณภาพน้ำโดยใช้ตาข่ายเพิ่มพื้นที่ผิว มีประสิทธิภาพในการบำบัดสารประกอบไนโตรเจนรวม 51 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่บ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำที่มีระบบบำบัดคุณภาพน้ำโดยใช้ตาข่ายเพิ่มพื้นที่ผิวร่วมกับสาหร่ายช่อพริกไทย มีประสิทธิภาพในการบำบัดสารประกอบไนโตรเจน รวม 34 เปอร์เซ็นต์ และช่วยทำให้ผลผลิตรวมและน้ำหนักเฉลี่ยของกุ้งกุลาดำที่ 120 วัน เพิ่มขึ้น 52 และ 67 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการใช้สาหร่ายช่อพริกไทยและตาข่ายเพิ่มพื้นที่ผิวสามารถช่วยในการบำบัดคุณภาพน้ำจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดำระบบพัฒนาได้ แต่การพัฒนาเพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในภาคสนามจริงต้องเลือกใช้ชนิดของสาหร่ายทะเลในการบำบัดคุณภาพให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย ประจำงบประมาณ 2547 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรีth_TH
dc.subjectกุ้งกุลาดำ - - การเลี้ยงth_TH
dc.subjectกุ้งกุลาดำ - - วิจัยth_TH
dc.subjectน้ำเสีย - - การบำบัดth_TH
dc.subjectบ่อเลี้ยงกุ้งth_TH
dc.subjectแบคทีเรียth_TH
dc.subjectสาหร่ายth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบหมุนเวียนน้ำแบบปิดด้วยการใช้สาหร่ายและแบคทีเรียในการบำบัดน้ำในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำระบบพัฒนาth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of the closed recirculating system by macroalgae and bacteria treatments in the intensive pond-reared Penaeus monodoen
dc.typeResearch
dc.year2548
dc.description.abstractalternativeThe development of closed recirculating system by macroalgae caulerpa sp. and increased-space material for bacteria treatments in the intensive pond-reared Penaeus monodon had been studied. The experiments had reared shrimp in aquariums and outdoor earth ponds. All of data such as water quality, seaweed weight, shrimp growth rate, shrimp survival rate, feed conversion ration and total shrimp production had been collected. Result showed that shrimp rearing with seaweed and increased-space material for bacteria treatments could improve water qualities and total shrimp production. The efficiency of total nitrogen removal in shrimp rearing with increased-space material had 51% total nitrogen removal. Meanwhile, the efficiency of total nitrogen removal in shrimp rearing with seaweed and increased-space material could reduce 34% total nitrogen. Total shrimp production and average shrimp at 120 days had increased 52 and 67% in shrimp rearing with seaweed and increased-space material. From the study, seaweed Caulerpa sp. and increased-space material can apply for water treatment in intensive shrimp rearing but the application of seaweed in field must be selected seaweed species to appropriate with the local weather and site.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น