กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3576
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorภูริชญา วีระศิริรัตน์th
dc.contributor.authorอรชร บุญลาth
dc.contributor.authorพิมลพรรณ ทวีการ วรรณจักรth
dc.contributor.authorจันทร์ทิพย์ นามสว่างth
dc.contributor.authorสราวุฒิ สิริเกษมสุขth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์
dc.date.accessioned2019-05-23T10:50:59Z
dc.date.available2019-05-23T10:50:59Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3576
dc.description.abstractการฝึกเดินโดยใช้ไม้ค้ำยันรักแร้พบได้บ่อยในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บรยางค์ส่วนล่างเพื่อลดการลง น้ำหนักของขาข้างที่มีพยาธิสภาพ การฝึกเดินโดยใช้ไม้ค้ำยันรักแร้แบบมาตรฐานทําให้เกิดความไม่ สะดวกสบายในการใช้งาน รวมถึงการปรับระดับความสูง การออกแบบไม่ค้ำยันรักแร้แบบประยุกต์จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเดินได้ ดังนั้น วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้ เพื่อประดิษฐ์นวัตกรรมไม้ค้ำยันแบบประยุกต์ที่มีลักษณะพิเศษคือ ปรับระดับความสูงของไม้ค้ำยันได้ง่าย มีความสะดวกมั่นคง ปลอดภัย และสามารถรับแรงจากน้ำหนักตัวของผู้ใช้งาน ไม้ค้ำรักแร้แบบประยุกต์ผลิตออกมา 4 แบบ ได้แก่ วัสดุที่เป็นเหล็ก สแตนเลส และยึดโครงเดิมของไม้ค้ำยันรักแร้ที่ผลิตจากอลูมิเนียม 2 แบบ โดย เพิ่มอุปกรณ์เป็นเบรคจักรยาน และ hand piece เชื่อมลงไปในไม้ค้ำยันเดิม ผลจากการศึกษาครั้งนี้พบว่า ไม่ค้ำยันรักแร้แบบประยุกต์ที่ยึดโครงเดิมจากอลูมิเนียม โดยเพิ่มเบรคจักรยาน และ hand piece มีการใช้งานที่ดีที่สุด โดยพบว่ารูปแบบไม่ค้ํายันนี้ มีคุณสมบัติคือ ปรับระดับความสูงได้ง่าย ลดแรงที่กระทําใต้รักแร้ และรองรับน้ําหนักตัวได้ดีซึ่งไม่ค้ํายันประยุกต์ที่ประดิษฐ์ขึ้นมานี้อาจจะเป็นทางเลือกหนึ่งสําหรับผู้ป่วยที่มีความต้องการใช้ไม้ค้ํายัน แต่อย่างไรก็ตามในอนาคตยังต้องมีการนําไม้ค้ำยันนี้ไปทดลองใช้ในคนปกติและผู้ป่วยต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectไม้ค้ำยันth_TH
dc.subjectเวชภัณฑ์th_TH
dc.subjectอุปกรณ์ช่วยเดิน -- การออกแบบth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการผลิตไม้ค้ำยันรักแร้แบบประยุกต์th_TH
dc.title.alternativeDesign of the modified axillary crutchesen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailsirikasemsuk@gmail.comth_TH
dc.author.email่juntip@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailvina_pin@hotmail.comth_TH
dc.author.emailphurich16@gmail.comth_TH
dc.year2560th_TH
dc.description.abstractalternativeAmbulatory training with standard axillary crutches is often prescribed to reduce weight bearing after lower limb injuries. Normally, the standard axillary crutches or discomfort to all users and inconvenient to the height adjustment. A modified axillary crutch was designed for improvement of assistive device gait efficiency. Therefore, this study aims to invent innovative a modified axillary crutches, which the characteristic of easy to the height adjustable, comfort, safety, and stability. The Modified axillary crutches were invented into fore types, includes metal model, stanless steel model, standard aluminium axillary cruches with the original hand piece, and standard aluminium axillary cruches with modified hand piece. More specifically both aluminium axillary crutches models were modified by using a bicycle brake lever. The result of this study indicated that, a standard aluminium axillary crushes with the modified hand piece is the best model. This model has an the easiest to the height adjustment, comfort, safety, stability, and convenient of weight absorption, especially axillary compression. This study suggested that, aluminium axillary crushes with the modified hand piece is alternative for patients who having to use crutches. Nevertheless, further study could applied in healthy and patient subjectsen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_030.pdf2.58 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น