กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3402
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสิริลักษณ์ โสมานุสรณ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:25Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:25Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3402
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบพรรณนา เพื่อศึกษาความต้องการการดูแลในระยะสุดท้ายของผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชรา เก็บข้อมูลจากผู้สูงอายุ จำนวน 18 ราย อายุระหว่าง 62-87 ปี วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า สิ่งที่ผู้สูงอายุต้องการได้รับเมื่ออยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต คือ การดูแลจากบุคคล 2 กลุ่ม ได้แก่ 1. เจ้าหน้าที่ และ 2. ผู้สูงอายุด้วยกันโดยการดูแลจากเจ้าหน้าที่ แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ 1) ระยะก่อนการเสียชีวิต มี 5 ประเด็น ได้แก่ 1. การช่วยติดต่อบุตรหลานเพื่อให้ได้เจอก่อนเสียชีวิต 2. การดูแลแบบใกล้ชิดและใส่ใจมากกว่าปกติ 3. การนำส่งโรงพยาบาลเมื่ออาการหนักขึ้น 4. การได้พบกับพระก่อนเสียชีวิต และ 5. การพูดนำ ทางให้ไปที่ดีๆ และ 2) ระยะภายหลังการเสียชีวิต มี 2 ประเด็น ได้แก่ 1. การดูแลศพให้ดีงามตามพิธี และ 2. การทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้ดวงวิญญาณ ส่วนการดูแลจากผู้สูงอายุด้วยกัน มี 2 ประเด็น ได้แก่ 1. การช่วยดูแลเมื่อมีอาการเจ็บป่วย และ 2. การอยู่ร่วมกันด้วยดีและให้อภัยต่อกันผลการวิจัยครั้งนี้ พยาบาลและผู้ที่สนใจสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางสำหรับการดูแลผู้สูงอายุระยะสุดท้ายในสถานสงเคราะห์คนชราที่สอดคล้องกับความต้องการและแบบแผนการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราth_TH
dc.subjectระยะสุดท้ายของชีวิตth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleความต้องการการดูแลในระยะสุดท้ายของผู้สูงอายุใน สถานสงเคราะห์คนชราth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume34
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeA descriptive qualitative study was conducted to find out the end-of-life care needs of the elderly in home for the aged from 18 elderly informants, age between 62 to 87 years. Content analysis was used for data analysis. The findings revealed that the needs of the elderly at the end of life supported by two groups; 1. Home for the aged staff and 2. Home for the aged resident. Care from staff in home for the aged divided into two phases; 1) Before death care, which consist of 5 issues; 1. Contact with the elderly children to meet them before passed away 2. Close up care and give more attention 3. Refer to hospital in case of the condition getting worst, 4. Arrange for the dying person to see the monk before passed away, and 5. Lead by guiding words to be in a good place after death, and 2) After death care, which consist of 2 issues; care for the dead body and funeral ceremony arrangement, and making merit for the spirit. However the co-operative care from the residents were; 1. Provide care when have signs of illness and 2. Stay together in good relationship and forgiveness. The results from this study could be used as the guideline for nurses and other people to deliver end-of-life care for elderly people in home for the aged according to the needs and the lifeways of the elderly peopleen
dc.journalวารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ = Songklanagarind journal of nursing
dc.page71-88.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น