กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3201
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorฉลอง ทับศรี
dc.contributor.authorสฎายุ ธีระวณิชตระกูล
dc.contributor.authorสร้อยระย้า เขตต์คีรี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:21:23Z
dc.date.available2019-03-25T09:21:23Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3201
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนบนเว็บ เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี ให้ได้ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนบทเรียนบนเว็บและ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนิสิตที่เรียนเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาผ่านบทเรียนบนเว็บที่พัฒนาขึ้นกระบวนการพัฒนาบทเรียนบนเว็บ ประกอบด้วย ขั้นตอนดังนี้ 1) การวิเคราะห์ (Analysis) 2) การออกแบบ (Design) 3) การพัฒนา (Development) 4) การนำไปใช้ (Implementation) และ 5) การประเมินผล (Evaluation) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แบบทดสอบประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บ 2) แบบประเมินบทเรียนบนเว็บ 6) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนบนเว็บ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ กลุ่มนิสิตคณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชั้นปีที่ 2 ที่กำลังศึกษารายวิชาองค์การและการจัดการศึกษา ในปีการศึกษา 2556 จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติในการ แจกแจงแบบที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการพัฒนาทำให้ได้บทเรียนบนเว็บเรื่อง การประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี จำนวน 4 บทเรียน ที่มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 80.75/85.67 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ได้กำหนดไว้ 2. ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบก่อนและหลังการเรียนบทเรียนบนเว็บเรื่องการประกัน คุณภาพการศึกษา พบว่า หลังเรียนด้วยบทเรียนบนเว็บผู้เรียนมีคะแนนสูงกว่าก่อนเรียนบทเรียนบนเว็บอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ พบว่า โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการพัฒนาเว็บไซต์th_TH
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บth_TH
dc.subjectประกันคุณภาพการศึกษา - - การเรียนการสอนผ่านเว็บth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการพัฒนาบทเรียนบนเว็บ เรื่อง การประกันคุณภาพการศึกษาสำหรับนิสิตระดับปริญญาตรีth_TH
dc.title.alternativeThe development of web-based lessons on education quality assurance for bachelor's degree studentsen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume10
dc.year2557
dc.description.abstractalternative1. The purposes of this research were to (1) to develop web-based lesson on education quality assurance for undergraduate students to meet the efficiency criteria of 80/80 2) to study learning achievement of students after learning from the web-based and 3) to study students’ satisfaction toward the developed web-based lesson. The web-based lesson was developed in an 5 step procedure: (1) Analysis (2) Design (3) Development (4) Implementation and (5) Evaluation 2. The Research instruments for web-based lesson design and development were (1) Content of lessons on education quality assurance (2) Computer hardware (3) Programs including Moodle, Adobe Flash, Adobe Photoshop, Microsoft Word, Microsoft PowerPoint and Sound Recording (4) the evaluation form for web-based on education quality assurance for bachelor’s degree students. The instruments for evaluation were the achievement test on web-based lessons on education quality assurance and (2) the evaluation form for student’s satisfaction. The participants of the lesson implementation were 30 students in the second year at the Faculty of Education, Burapha university who study course on organization and education management in academic year 2013. Data were analyzed by statistics, using Mean (x), Standard Deviation, and t-test dependent The results of ; 1. The Web-based lessons on education quality assurance for undergraduate students were developed. They posses the efficiency value of 80.75/85.67 which was higher than the standard criterion. 2. The mean of the learning achievement of students after learning through web-based lessons was that the students had higher score of was significantly higher at the .05 posttest compared to the pretest at .05 significance level. 3. The student’s satisfaction toward web-based lessons were at high level of satisfactionen
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development.
dc.page68-78.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edusoc10n1p68-78.pdf785.9 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น