กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3062
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.authorปัทมาพร ศรีกำพล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:21:14Z
dc.date.available2019-03-25T09:21:14Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3062
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบผู้รับใช้ของผู้บริหารสถานศึกษา วัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 และเพื่อสร้างสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของโรงเรียน จากภาวะผู้นำแบบผู้รับใช้ของผู้บริหารสถานศึกษา และวัฒนธรรมองค์การ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ข้าราชการครูที่ปฎิบัติงานสอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 จำนวน 247 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 109 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ คะแนนเฉลี่ย (-X)ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient)และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis)ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำแบบผู้รับใช้ของผู้บริหารสถานศึกษา วัฒนธรรมองค์การและประสิทธิพลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. ภาวะผู้นำแบบผู้รับใช้ของผู้บริหารสถานศึกษาและวัฒนธรรมองค์การของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 โดยรวมมีความสัมพัธ์กับประสิทธิผลของโรงเรียนอยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. การสร้างสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของโรงเรียนจากภาวะผู้นำแบบผู้รับใช้ของผู้บริหารสถานศึกษาวัฒนธรรมองค์การที่มีอำนาจพยากรณ์ประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยองเขต 2 เรียงตามลำดับพยากรณ์ที่ดีที่สุด คือ ด้านการสร้างกลุ่มชน (X10)ด้านการสร้างมโนทัศน์ (X6) ด้านการเสริมพลัง (X12) ด้านความซื่อสัตย์สุจริต (X19) ด้านการโน้วน้าวใจ (X5) ด้านการตัดสินใจ (X13)ด้านการยอมรับ (X17)และด้านการมองการณ์ไกล (X7) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์พหุคูณเมื่อใช้ตัวพยากรณ์ คือ ภาวะผู้นำแบบผู้รับใช้และวัฒนธรรมองค์การ ทั้ง 8 ด้าน มีค่าเท่ากับ .827 ซึ่งเป็นค่าที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีอำนาจพยากรณ์ร้อยละ 68.40 และมีสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 ในรูปคะแนนดิบดังนี้ ^Y = 1.334 + .282 (X10) + .277 (X6) + .251 (X19) - .228 (X13) - .171 (X17) - .173 (X7)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectประสิทธิผลองค์การth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียนth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำth_TH
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.subjectโรงเรียน - - การบริหารth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบผู้รับใช้ของผู้บริหารสถานศึกษา วัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2th_TH
dc.title.alternativeRelationship between servant leadership of schol administrators organizational culture and school effectiveness under the Rayong Primary Educational Service Area Office 2en
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume10
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to study the relationship between servant leadership of administrators, organizational culture and effectiveness of school under the Rayong primary educational service area office 2, and to predict equation of the effectiveness of schools from servant leadership of school administrators and organizational culture. The samples were the teachers totals 274 persons. The instruments were a set of five – levels rating scale totals 109. The Statistical device were mean, standard deviation, Pearson’s Product moment correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. 1. Servant leadership of school administrators, organizational culture and the effectiveness of school under the Rayong primary educational service area office 2 classified by size of school at total and each aspect were a high levels. 2. Servant leadership of school administrators, organizational culture of school under the rayong primary educational service area office 2 were correlated with the effectiveness of schools with statistically significant at .01 3. Servant leadership of school administrators in community (X10), Conceptualization (X6), Persuasion (X5), Foresight(X7) and organizational culture of school in Empowerment (X12), Integrity (X19), Decision Making(X13), Recognition (X17) under the Rayong primary educational service area office 2 were predicted the effectiveness of the school as a whole (-Y) at 68.40% and cooperatively predict the effectiveness of the schools of being significant different (p < .01) The raw data equation was -Y = 1.334 + .282 (X10) + .277 (X6) + .139 (X12) + .251 (X19) -.144 (X5) +.288 (X13) - .171 (X17) - .173 (X7)en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page28-39.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edusocial10n2p28_39.pdf165.45 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น