กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2857
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์
dc.contributor.authorพรพรรณ ศรีโสภา
dc.contributor.authorจิณห์จุฑา ชัยเสนา
dc.contributor.authorดวงใจ วัฒนสินธุ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:20:03Z
dc.date.available2019-03-25T09:20:03Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2857
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การใช้อินเทอร์เน็ตในนิสิตที่มีพฤติกรรมติดอินเทอร์เน็ต โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฎการณ์วิทยา ผู้ให้ข้อมูลเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี (ภาคปกติ) ที่กำลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกที่มีพฤติกรรมติดอินเทอร์เน็ตคัดเลือกผู้ให้ข้อมูล แบบเฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล ผู้วิจัยเก็บข้อมูลระหว่างเดือนมิถุนายน 2556 ถึงกุมภาพันธ์ 2557 มีผู้ให้ข้อมูลจนถึงจุดข้อมูลอิ่มตัวทั้งหมด 10 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการของโคไลซีซ์ ผลการวิจัยพบว่า นิสิตที่มีพฤติกรรมติดอินเทอร์เน็ต กล่าวถึงประสบการณ์ใช้อินเทอร์เน็ตสรุปได้เป็น 3 ประเด็นหลัก คือ 1) ชีวิตจริงบนโลกเสมือนเป็นการจำลองชีวิต การสร้างสังคมจำลองลนพื้นที่ที่ความเป้นส่วนตัวและรับรู้ได้ถึงความปลอดภัย 2) ความพิเศษแห่งตน เป็นการใช้อินเทอร์เน็ตจนเกิดความขำนาญทำให้ตนเองรู้สึกว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญและยิ่งใหญ่ 3) การเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต การใช้อินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเป็นกิจวัตรประจำวันที่มีความสำคัญมาก เป็นสิ่งที่ต้องใช้ทุกวันจนเสมือนลมหายใจในการดำรงชีวิต เป็นสิ่งที่ให้กำลังใจและแรงบันดาลใจหากขาดหายไปจะรู้สึกไม่มีความสุข จากผลการศึกษาครั้งนี้ บุคลากรผู้ที่เกี่ยวข้องในการดูแลนิสิตควรมีการสังเกตพฤติกรรมของนิสิตหากพบว่านิสิตมีพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตที่มากจนเกินไป ควรให้คำปรึกษาเบื้องต้นและจัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตต่อไปth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการติดอินเทอร์เน็ตth_TH
dc.subjectผู้ใช้อินเทอร์เน็ตth_TH
dc.subjectสาขาสังคมวิทยาth_TH
dc.titleประสบการณ์การใช้อินเทอร์เน็ตในนิสิตที่มีพฤติกรรมติดอินเทอร์เน็ตth_TH
dc.title.alternativeThe internet usage experience among university students with internet addiction behaviorsen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue4
dc.volume23
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this phenomenological study was to explore internet usage experience among students who appear to be addicted to internet usage. The informants were 10 undergraduate students (regular program) who were studying in one particular university located in the Eastern part. They were identified as having internet addiction and purposively selected to participate in this study. Data collection via indepth interview was conducted during the period of June 2013 to February 2014 Colaizzi's method was employed to analyze the data. The results revealed that students' experience toward internet addiction behaviors can be classified into 3 major themes include: 1) Living in a virtual world; the ways of live simulation provide them with privacy and safety. 2) Being special; frequently use of internet make them seem like they are great and expert people. 3) A part of life; using internet becomes important in enhancing their encour-agement and inspiration. If missing, they would feel unhappy. The results of this study suggested that those responsible for caring for these university students should observe their behavior pertinent to internet usage. If their behaviors demonstrating over using of internet, preliminary counseling and designed activities aimed at modifying their behaviors should be performed.en
dc.journalวารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of faculty of nursing Burapha University
dc.page61-73.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
61-73.pdf1.03 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น